ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper) วงจรชีวิต ลักษณะการทำลาย แนวทางการป้องกันกำจัด เขตกรรม วิธีกล ชีววิธี สารเคมี การใช้สารเคมี เช่น สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดกลุ่มเพลี้ยจักจั่น ได้แก่ การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาของเพลี้ยจักจั่น ควรพ่นสารเคมีที่มีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกันสลับกันตามวงจรชีวิตของแมลง สำหรับเพลี้ยจักจั่นมีวงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน ดังนั้น ควรใช้สารที่มีกลไกเดียวกันไม่เกิน 1

คำแนะนำการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกระทู้ เนื่องจากช่วงนี้พบการระบาดของหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายมันสำปะหลังในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบหนอนกระทู้กล้าเข้าทำลายในข้าว และหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทำลายข้าวโพด ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน และเริ่มมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้ดักแด้ที่พักตัวอยู่ในดินพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย (ผีเสื้อกลางคืน) และวางไข่ สภาพอากาศเช่นนี้ทำให้วงจรชีวิตหนอนสั้นลง ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและเข้าทำลายหลายชนิดพืช รูปร่างลักษณะ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด : fall armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E.

เปิดรับสมัคร อบรมการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ปี 67 (รุ่น 2) ขอเชิญชวนเกษตรกร ผู้นำเกษตรกร (อกม./YSF/SF) เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ในปัจจุบันการเพาะเห็ดฟางได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะได้ผลตอบแทนเร็ว เพียงระยะ 9-11 วัน ก็เริ่มเก็บผลผลิตได้ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถเพาะได้ทุกพื้นที่รูปแบบมีหลายรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร “หมอพืชชุมชน” ตั้งแต่บัดนี้ – 19 กรกฎาคม 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-611044

ใบบัวบก

ใบบัวบก บัวบกมีสารสำคัญกรดมาเดคาสสิก (Madecassic acid) กรดเอเชียติก (Asiatic acid) การปลูกปลูกได้ดีในดินเหนียวหรือดินเหนียวปนดินร่วน ใบบัวบกจะขยายพันธุ์โดยไหลและเมล็ด วิธีขยายจากไหลตัดไหลเป็นท่อน ๆ ไปเพาะในกระบะเพาะ 1-2 สัปดาห์ การดูแลรักษาบัวบกต้องการความชื้น แต่ไม่แฉะควรให้น้ำสม่ำเสมอ ควรระวังอย่าให้น้ำขัง จะเกิดโรคโคนเน่า การเก็บเกี่ยวเริ่มเก็บเกี่ยวหลังจากปลูกได้ประมาณ 60-90 วัน ใช้มีดตัดเหนือจากพื้นดินประมาณ

การทาบกิ่ง

การทาบกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีหนึ่งที่ทำให้ได้ต้นพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะทางสายพันธุ์เหมือนต้นแม่ทุกประการ โดยกิ่งพันธุ์ดีจะให้ผลผลิตที่ตรงตามพันธุ์ อุปกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

เชิญร่วมงาน คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบพบกิจกรรมน่าสนใจงาน รับปัจจัยการผลิตมากมายจากหน่วยงานที่มาให้บริการ อาทิ วันที่ 30 กรกฎาคม 2567 อย่าลืมนำบัตรประชาชน หรือ ThaiD มาลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ ได้ตั้งแต่ เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป

ขอเชิญร่วมงาน “คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระบรมราชานุเคราะห์ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

รู้หรือไม่ ? ถ้ารู้จัก “ดิน” ดีกว่าใคร จะมีชัย “ในการปลูก” ไปกว่าครึ่ง จันทร์นี้เลยอยากจะชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย เนื่องจากการผลิตพืชเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง และคุ้มค่าต่อการลงทุนนั้น ต้องรู้จักธรรมชาติของดินในพื้นที่ปลูกของตนเองก่อน เกษตรกรจึงจะสามารถเลือกใช้ปุ๋ยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพนั่นเอง ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ 1. รู้จักดินดีหรือยัง? คลิกอ่าน :

หนอนกออ้อย

หนอนกออ้อย

เตือนเฝ้าระวัง ! หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) เนื่องจากสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในช่วงนี้มีอุณหภูมิสูง และฝนทิ้งช่วง เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย โดยเฉพาะในระยะแตกกอ และย่างปล้อง เฝ้าระวังการระบาดของ หนอนกออ้อย โดยหมั่นสำรวจแปลงอ้อยอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบการเข้าทำลายของหนอนกออ้อยให้รีบแจ้งสำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันกำจัดทันที สาเหตุ หนอนกอที่เข้าทำลายอ้อยในระยะแตกกอมี 3 ชนิด ได้แก่ ลักษณะอาการ เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุทัยธานี

เฝ้าระวังร้อน แล้ง แมลงศัตรูพืชตัวร้าย

เฝ้าระวังร้อน แล้ง แมลงศัตรูพืชตัวร้าย

เฝ้าระวังร้อน แล้ง แมลงศัตรูพืชตัวร้าย เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน หนอนกออ้อย หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

หนอนกออ้อย

หนอนกออ้อย

หนอนกออ้อย จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท https://www.facebook.com/DoaeChainat หนอนกออ้อย ศัตรูสำคัญที่เข้าทำลายอ้อย 3 ชนิด หนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีขาว หนอนกอสีชมพู ลักษณะการเข้าทำลาย▪ ระยะอ้อยแตกกอ (อ้อยอายุ 1-4 เดือน) จะพบหนอนกอทำลายทั้งในอ้อยปลูกและอ้อยตอ หากอ้อยแสดงอาการยอดเหี่ยว จำนวน 1-2 ยอดต่อไร่ หรือพบกลุ่มไข่ 1-2 กลุ่มต่อไร่ ให้รีบป้องกันกำจัด

หนอนกออ้อย

หนอนกออ้อย

หนอนกออ้อย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย https://www.facebook.com/profile.php?id=100065526247976

หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer)

หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer)

หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ซึ่งเป็นแหล่งปลูกอ้อยที่สำคัญของประเทศ ให้ระวังการระบาดของหนอนกอลายจุดเล็ก หนอนกอสีขาว และหนอนกอสีชมพู โดยเฉพาะอ้อยในระยะแตกกอ และอ้อยปลูกใหม่ และให้ระวังการเข้าทำลายของหนอนกอลายใหญ่ และหนอนกอลายจุดใหญ่ ซึ่งพบมากในระยะอ้อยเป็นลำ ดังนั้น ขอให้เกษตรกรในพื้นที่ดังกล่าวและในจังหวัดใกล้เคียงหมั่นสำรวจแปลงอ้อยอย่างสม่ำเสมอ หากพบการเข้าทำลายให้รีบขอคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัด เพื่อหาทางควบคุมและป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง ————————— วิธีการป้องกันกำจัด อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ http://bit.ly/2u9vE3V ————————— ขอบคุณภาพจาก : http://www.komchadluek.net/news/agricultural/309029