ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper) วงจรชีวิต ลักษณะการทำลาย แนวทางการป้องกันกำจัด เขตกรรม วิธีกล ชีววิธี สารเคมี การใช้สารเคมี เช่น สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดกลุ่มเพลี้ยจักจั่น ได้แก่ การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาของเพลี้ยจักจั่น ควรพ่นสารเคมีที่มีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกันสลับกันตามวงจรชีวิตของแมลง สำหรับเพลี้ยจักจั่นมีวงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน ดังนั้น ควรใช้สารที่มีกลไกเดียวกันไม่เกิน 1

คำแนะนำการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกระทู้ เนื่องจากช่วงนี้พบการระบาดของหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายมันสำปะหลังในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบหนอนกระทู้กล้าเข้าทำลายในข้าว และหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทำลายข้าวโพด ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน และเริ่มมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้ดักแด้ที่พักตัวอยู่ในดินพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย (ผีเสื้อกลางคืน) และวางไข่ สภาพอากาศเช่นนี้ทำให้วงจรชีวิตหนอนสั้นลง ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและเข้าทำลายหลายชนิดพืช รูปร่างลักษณะ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด : fall armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E.

เปิดรับสมัคร อบรมการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ปี 67 (รุ่น 2) ขอเชิญชวนเกษตรกร ผู้นำเกษตรกร (อกม./YSF/SF) เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ในปัจจุบันการเพาะเห็ดฟางได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะได้ผลตอบแทนเร็ว เพียงระยะ 9-11 วัน ก็เริ่มเก็บผลผลิตได้ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถเพาะได้ทุกพื้นที่รูปแบบมีหลายรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

ใบบัวบก

ใบบัวบก บัวบกมีสารสำคัญกรดมาเดคาสสิก (Madecassic acid) กรดเอเชียติก (Asiatic acid) การปลูกปลูกได้ดีในดินเหนียวหรือดินเหนียวปนดินร่วน ใบบัวบกจะขยายพันธุ์โดยไหลและเมล็ด วิธีขยายจากไหลตัดไหลเป็นท่อน ๆ ไปเพาะในกระบะเพาะ 1-2 สัปดาห์ การดูแลรักษาบัวบกต้องการความชื้น แต่ไม่แฉะควรให้น้ำสม่ำเสมอ ควรระวังอย่าให้น้ำขัง จะเกิดโรคโคนเน่า การเก็บเกี่ยวเริ่มเก็บเกี่ยวหลังจากปลูกได้ประมาณ 60-90 วัน ใช้มีดตัดเหนือจากพื้นดินประมาณ

การทาบกิ่ง

การทาบกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีหนึ่งที่ทำให้ได้ต้นพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะทางสายพันธุ์เหมือนต้นแม่ทุกประการ โดยกิ่งพันธุ์ดีจะให้ผลผลิตที่ตรงตามพันธุ์ อุปกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

เชิญร่วมงาน คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบพบกิจกรรมน่าสนใจงาน รับปัจจัยการผลิตมากมายจากหน่วยงานที่มาให้บริการ อาทิ วันที่ 30 กรกฎาคม 2567 อย่าลืมนำบัตรประชาชน หรือ ThaiD มาลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ ได้ตั้งแต่ เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป

ขอเชิญร่วมงาน “คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระบรมราชานุเคราะห์ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

รู้หรือไม่ ? ถ้ารู้จัก “ดิน” ดีกว่าใคร จะมีชัย “ในการปลูก” ไปกว่าครึ่ง จันทร์นี้เลยอยากจะชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย เนื่องจากการผลิตพืชเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง และคุ้มค่าต่อการลงทุนนั้น ต้องรู้จักธรรมชาติของดินในพื้นที่ปลูกของตนเองก่อน เกษตรกรจึงจะสามารถเลือกใช้ปุ๋ยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพนั่นเอง ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ 1. รู้จักดินดีหรือยัง? คลิกอ่าน :

เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรแล้ว สามารถติดตามและตรวจสอบสถานะการขึ้นทะเบียนเกษตรกรได้ที่ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอใกล้บ้าน หรือ ศูนย์บริการเกษตรพิรุณราช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่ตั้งแปลง

เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร “หมอพืชชุมชน”

เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร "หมอพืชชุมชน"

กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร “หมอพืชชุมชน” ตั้งแต่บัดนี้ – 19 กรกฎาคม 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-611044

เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรมหลักสูตร “หมอพืชชุมชน”

เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรมหลักสูตร "หมอพืชชุมชน"

ประชาสัมพันธ์รับสมัคร “หมอพืชชุมชน ปี67”  เข้าร่วมอบรมหลักสูตรการเป็นหมอพืชชุมชน ระหว่างวันที่ 13-16 สค. 67 โดยรับสมัครถึงวันที่ 19 กค. 67เกษตรกรหรือผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน โทร 053611044 หรือ

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ “คลินิกพืช”

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ "คลินิกพืช"

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ “คลินิกพืช” หน่วยบริการที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหาศัตรูพืช และป้องกันกำจัดศัตรูพืชได้อย่างตรงจุด รวมถึงหมอพืชและหมอพืชชุมชน บุคคลที่จะช่วยวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช(เบื้องต้น) ให้แก่เกษตรกรได้ ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ Q&A คลินิกพืช วินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช แก้ปัญหาศัตรูพืชตรงจุดคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/คลินิกพืช/ คลิกนิกพืชคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/คลินิกพืช-2/ มารู้จัก “หมอพืช”คลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/หมอพืช/ มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชนคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/หมอพืชชุมชน/ แล้วพบกันใหม่ครั้งหน้า กับ #เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ทุกวันจันทร์ เวลา 8.00 น. ค่ะ

มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชน

มาทำความรู้จัก...หมอพืชชุมชน

มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชน หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผู้ผ่านหลักสูตรหมอพืชชุมชนอบรมด้านการวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้น โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจของพื้นที่ คุณลักษณะ1. วินิจฉัยอาการผิดปกติและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้นได้2. เก็บข้อมูลภาพถ่ายและตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยได้ 3. มีจิตสาธารณะ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่และเกษตรกรได้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

บันทึกย้อนหลังการอบรม หลักสูตรเตรียมความพร้อมสู่การเป็นหมอพืชชุมชน

บันทึกย้อนหลังการอบรม หลักสูตรเตรียมความพร้อมสู่การเป็นหมอพืชชุมชน

บันทึกย้อนหลังการอบรม หลักสูตรเตรียมความพร้อมสู่การเป็นหมอพืชชุมชน ผลิตโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา