ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense” HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ ผนวกเทคโนโลยีเซนเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อมทางการเกษตรและระบบควบคุมการทำงานอัตโนมัติได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่ายทนทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถเข้าใจ HandySense ได้เพิ่มขึ้น คลิกเพิ่มเติมจากลิงก์ด้านล่างได้เลยค่ะ Handy sense เกษตรอัจฉริยะรับชม : https://bit.ly/40ZOp8Q เพิ่มรายได้ เพิ่มผลผลิต ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense”คลิกอ่าน : https://bit.ly/4b6ED9A

ขึ้นระหว่างวันที่ 21-31 มีนาคม 2568 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น DOAE E-LEARNING การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมส่งเสริมการเกษตร กำหนดการเปิดเรียน ประจำปี 2568 ช่วงที่ 1 : 1 มีนาคม – 31

เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง หลังจากปล่อยครั่งไปแล้ว 1 เดือน ครั่งจะขับถ่ายมูลหวาน ออกมาจากช่องขับถ่าย หากเกษตรกรที่ปล่อยครั่งบนต้นจามจุรีที่มีขนาดใหญ่ อาจจะสังเกตการเจริญเติบโตของครั่งได้ยาก ดังนั้นเรามีเทคนิคในการสังเกตครั่งมาฝากกันค่ะ 1.ไม้อาศัยต้นเตี้ย ก็จะเห็นการเจริญเติบโตของครั่งได้ชัดเจน มีการสร้างไขสีขาว และการขับน้ำหวานที่มีสีใสออกมา เมื่อสัมผัสอากาศนาน ๆ ก็จะเริ่มแข็งตัวและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีทอง สีน้ำตาล 2.ไม้อาศัยต้นใหญ่และมีความสูงมาก เราอาจจะสังเกตได้ดังนี้ เรียบเรียง :

แมลงศัตรูพืชในฤดูร้อนที่ต้องระวัง ฤดูร้อนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก บรอกโคลี กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม ฯลฯ ต้องเผชิญกับศัตรูพืชต่าง ๆ เพราะด้วยสภาพอากาศที่มีความชื้นต่ำติดต่อกันยาวนานหลายเดือน นับเป็นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแมลงศัตรูพืช ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชที่ปลูกได้ โดยแมลงศัตรูพืชที่พบมากในช่วงอากาศร้อน เช่น เพลี้ยอ่อน ด้วงหมัดผัก หนอนใยผัก และหนอนกระทู้ผัก

จุลินทรีย์หน่อกล้วย

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง “จุลินทรีย์หน่อกล้วย” วัตถุดิบ วิธีทำ การนำไปใช้ใช้น้ำหมักชีวภาพอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงปั่นดินนาทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

แคดเมียน (CADMIUM) คืออะไร??แคดเมียนเป็นแร่โลหะชนิดหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติ โดยอาจมาจากวัตถุต้นกำเนิดดิน การทำเหมืองแร่ โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหิน การทำแบตเตอรี่ การใช้ปุ๋ย และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตร และสามารถพบแคดเมียมปนเปื้อนได้ในอาหารและน้ำ การปนเปื้อนโลหะหนักในดิน มีสาเหตุมาจากกิจกรรมทางการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น การทิ้งของเสียโดยไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้เกิดการตกค้างและสะสมโลหะหนักในดิน เช่น สารหนู แคดเมียม ตะกั่ว ปรอท เป็นต้น

แมลงสิง ศัตรูข้าวระยะออกรวง รูปร่างลักษณะ ลักษณะการทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านอารักขาพืชและดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญชวนร่วมงานรณรงค์สร้างการรับรู้และการเรียนรู้การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Day)  พบกับกิจกรรมที่น่าสนใจภายในงาน สถานีเรียนรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการออกร้านจำหน่ายสินค้าจากเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรต่าง ๆ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัด สุราษฎร์ธานี

ขอเชิญชวนร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ภายในงานพบกับ  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่

ไม่เผา เรามีรายได้

ไม่เผา เรามีรายได้

ไม่เผา เรามีรายได้ เลือกที่จะไม่เผาฟางข้าว แต่นำไปทำเป็นวัสดุเพาะเห็ด เพื่อสร้างรายได้ ฟางข้าวเป็นวัสดุธรรมชาติที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวข้าวในนา การบริหารจัดการหลังการเก็บเกี่ยวของเกษตรกรส่วนใหญ่ จะใช้วิธีการเผา เพราะเป็นวิธีที่ง่าย รวดเร็ว และต้นทุนต่ำ ฟางข้าวสามารถนำมาเป็นวัสดุในการเพาะเห็ด นอกจากจะลดการเผาแล้วยังสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร การเพาะเห็ดฟาง มี 5 รูปแบบ ได้แก่ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดเชียงราย

หยุดเผาในพื้นที่การเกษตร

หยุดเผาในพื้นที่การเกษตร

ทำไมต้อง หยุดเผาในพื้นที่การเกษตร รู้หรือไม่ว่า…การเผา1.ผิดกฏหมาย2.ทำลายแมลงควบคุมศัตรูพืช3.ทำลายดิน ทำให้ดินเสื่อมโทรม4.ทำลายจุลินทรีย์ในดิน5.ทำลายอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี

เผาแล้วไม่ดีอย่างไร?

เผาแล้วไม่ดีอย่างไร?

การเผา ผิดกฏหมาย !! และก่อให้เกิดปัญหามากมาย เช่น ฝุ่นละออง PM 2.5 หมอกควัน ก๊าซพิษ เป็นอันตราย ทำลายสุขภาพ ส่งผลกระทบถึงการท่องเที่ยว ทำลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน รวมถึงก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อน น้ำท่วม ฝนแล้ง ได้อีกด้วย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

การไถกลบทดแทนการเผา

การไถกลบทดแทนการเผา

การไถกลบทดแทนการเผา ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร การไถกลบเศษวัสดุการเกษตรลงไปในดิน นอกจากจะช่วยลดปัญหาการเผาแล้ว ยังเกิดประโยชน์ต่อการผลิตพืชอีกหลายประการ ได้แก่ การไถกลบควรทำควบคู่ไปกับการใช้ “น้ำหนักชีวภาพ” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายเศษวัสดุการเกษตรให้เป็นปุ๋ยที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดตาก