ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

แนะนำแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี บุญทวี อีโค่ ฟาร์มhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100057581463876&_rdc=1&_rdr สวนเกษตรแก้วมังกรhttps://www.facebook.com/kennydragonfruit?_rdc=1&_rdr สวนเทพประทานพรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100064082551631&_rdc=1&_rdr สวนเราเกษตรอินทรีย์https://www.facebook.com/p/วิสาหกิจสวนเราเกษตรอินทรีย์-หนองเสือ-ปทุมธานี-100063787643894/?_rdc=2&_rdr มิสเมล่อน Miss Melon Farmhttps://www.facebook.com/missmelonfarm?_rdc=1&_rdr สวนฟุ้งขจรhttps://www.facebook.com/p/สวนฟุ้งขจร-วิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์-100064826555802/?_rdc=2&_rdr จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี

ผสมปุ๋ยใช้เองลดต้นทุนได้ธาตุอาหารครบ ข้อดีของการผสมปุ๋ยใช้ เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

12 สิงหา วันแม่แห่งชาติ เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทุกท่านมอบของขวัญวันแม่ ด้วย “ไม้ดอกไม้ดอกประดับแทนใจ” นอกจากจะเป็นตัวแทนของความรักและความกตัญญูแล้ว ยังเสริมความสวยงามให้กับบ้านเรือน และเสริมความมงคลได้อีกด้วย ทรงคุณค่าไม้ไทย ไม้เด็ดดอก สื่อความหมาย แทนความรู้สึกคลิกอ่าน : https://bit.ly/3WS18tg ไม้ตัดดอก หลากหลายความหมาย มากมายสีสันคลิกอ่าน : https://bit.ly/3YCxqJT ของขวัญแทนใจ

สตรอว์เบอร์รี่

ลักษณะทั่วไปของสตรอว์เบอร์รี่Strawberry: Fragaria ananassa เกิดจากการผสมข้ามระหว่าง F.chiloensis และ F.virginiana อยู่ในวงศ์ Rosaeae มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ เป็นพืชเขตหนาว อายุ 3 ปี ประกอบด้วย ลำต้น แตกกอเป็นพุ่มเตี๊ย 6-8 นิ้ว ทรงพุ่มกว้าง 8-12 นิ้ว

มะลิ ดอกไม้แห่งคุณค่า สร้างโอกาส สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร สายพันธุ์มะลิที่นิยมปลูกเป็นการค้ามะลิที่นิยมปลูกเพื่อใช้สําหรับเป็นการค้าโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ มะลิลา ซึ่งมะลิลา จะมี 3 สายพันธุ์ที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่ พันธุ์เเม่กลอง มีลักษณะทรงพุ่มใหญ่ หนาเเละเเน่นทึบ เจริญเติบโตเร็ว ดอกใหญ่กลมเเละมีช่อดอก 1 ชุด ชุดละ 3 ดอก

สูตรปุ๋ยสำคัญอย่างไร ทำไมเกษตรกรต้องเข้าใจก่อนใช้? เพราะ การใช้ปุ๋ย ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกเวลา และถูกวิธี ช่วยให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตได้ โพสต์เดียวครบ ปุ๋ยคืออะไร , ปุ๋ยสำคัญอย่างไร , การใช้ปุ๋ยอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด , การใช้ปุ๋ยแบบผสมผสาน , ขอคำแนะนำเรื่องปุ๋ย คลิกอ่านในอัลบั้มเล้ยยย

ดอกมะลิ

ดอกมะลิ สายพันธุ์มะลิที่นิยมปลูกเป็นการค้ามะลิที่นิยมปลูกเพื่อใช้สําหรับเป็นการค้าโดยส่วนใหญ่ ได้แก่ มะลิลา ซึ่งมะลิลา จะมี 3 สายพันธุ์ที่เป็นพันธุ์ส่งเสริม ได้แก่ พันธุ์เเม่กลอง มีลักษณะทรงพุ่มใหญ่ หนาเเละเเน่นทึบ เจริญเติบโตเร็ว ดอกใหญ่กลมเเละมีช่อดอก 1 ชุด ชุดละ 3 ดอก พันธุ์ราษฎ์บูรณะ ลักษณะ ทรงพุ่มเล็กกว่าพันธุ์แม่กลองเเละค่อนข้างทึบ

 Gifts for MOM สินค้าเกษตรสำหรับแม่ที่เรารักเลือกซื้อสินค้าเกษตรคุณภาพดี จากเกษตรกรตัวจริงที่เว็บไซต์  www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com 

โรคโคนเน่า-รากเน่าในมันสำปะหลัง เกิดจากเชื้อราไฟทอปธอรา (Phythopthora meadii) เป็นเชื้อราในดินมันสำปะหลังจะแสดงอาการตั้งแต่อายุ 3 เดือนขึ้นไป โดยเชื้อจะเข้าสู่โคนต้นก่อน ทำให้เกิดอาการบวมพองและมีปุ่มรากที่โคนต้นเหนือผิวดิน จากนั้นเชื้อจะลามลงไปที่รากและก้านขั้วหัวมันส่วนอาการเหนือดิน สังเกตได้จากใบเริ่มซีดเหลือง จากนั้นใบล่างเริ่มแสดงอาการเหี่ยวและแห้งคาต้น เมื่อถอนต้นรากและหัวเน่า แต่ลำต้นยังเป็นปกติ หากเกาตรกรตัดต้นไปขายเป็นท่อนพันธุ์ จะทำให้เชื้อสามารถแพร่ขยายได้ในวงกว้าง การป้องกันกำจัด ในกรณีที่พบการระบาดของโรครุนแรง ควรปฏิบัติดังนี้ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

นายประสิทธิ์ รูปเอี่ยม เกษตรกรต้นแบบเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นเกษตรกรที่สามารถปรับตัวและปรับแนวทางการทำเกษตรให้อยู่ร่วมกับชุมชนเมืองได้ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว (ทำนา) มาเป็นการทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกที่มีการผสมผสานกัน ทั้งการทำนาและทำสวนได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีการจัดการผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่แน่นอน ก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี และสามารถพัฒนาเป็นฟาร์มเกษตรอัจฉริยะได้ในอนาคต การจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรระบบไร่นาสวนผสม การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การจัดการดินและน้ำ การจัดการผลผลิตและการตลาด การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช จัดทำโดย :

โรคเมล็ดด่าง

โรคเมล็ดด่าง

คำแนะนำในการป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่าง เชื้อสาเหตุ : เกิดจากเชื้อราได้หลายชนิด ได้แก่ Curvularia lunata, Cercospora oryzae, Bipolaris oryzae, Trichoconis padwickii, Fusarium semitectum, Sarocladium oryzae การแพร่ระบาด คำแนะนำในการป้องกันกำจัด ป้องกันการเกิดโรค โดยแช่เมล็ดพันธุ์ข้าวก่อนปลูก ในอัตราเชื้อไตรโคเดอร์มา 1 กิโลกรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร ต่อเมล็ดพันธุ์ข้าว 100 กิโลกรัม หากฉีดพ่น ใช้ในอัตรา 1 กิโลกรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซบ หรือ คาร์เบนดาซิม ในอัตรา 3 กรัม ต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม ในระยะที่ต้นข้าวตั้งท้องออกรวง หากมีฝนตกชุก ควรป้องกันการเกิดโรค โดยพ่นสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น ไดฟีโนโคนาโซล+โพรพิโคนาโซล หรือ โพรพิโคนาโซล+โพรคลอราซ หรือ คาร์เบนดาซิม โดยวิธีการใช้และอัตราการใช้ควรปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลากบนภาชนะบรรจุ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านอารักขาพืชและดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร