ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense” HandySense ระบบเกษตรแม่นยำ ฟาร์มอัจฉริยะ ผนวกเทคโนโลยีเซนเซอร์ตรวจวัดสภาพแวดล้อมทางการเกษตรและระบบควบคุมการทำงานอัตโนมัติได้รับการออกแบบให้ใช้งานง่ายทนทานต่อสภาพแวดล้อม สามารถเข้าใจ HandySense ได้เพิ่มขึ้น คลิกเพิ่มเติมจากลิงก์ด้านล่างได้เลยค่ะ Handy sense เกษตรอัจฉริยะรับชม : https://bit.ly/40ZOp8Q เพิ่มรายได้ เพิ่มผลผลิต ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense”คลิกอ่าน : https://bit.ly/4b6ED9A

ขึ้นระหว่างวันที่ 21-31 มีนาคม 2568 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น DOAE E-LEARNING การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ กรมส่งเสริมการเกษตร กำหนดการเปิดเรียน ประจำปี 2568 ช่วงที่ 1 : 1 มีนาคม – 31

เกร็ดความรู้สำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยงครั่ง หลังจากปล่อยครั่งไปแล้ว 1 เดือน ครั่งจะขับถ่ายมูลหวาน ออกมาจากช่องขับถ่าย หากเกษตรกรที่ปล่อยครั่งบนต้นจามจุรีที่มีขนาดใหญ่ อาจจะสังเกตการเจริญเติบโตของครั่งได้ยาก ดังนั้นเรามีเทคนิคในการสังเกตครั่งมาฝากกันค่ะ 1.ไม้อาศัยต้นเตี้ย ก็จะเห็นการเจริญเติบโตของครั่งได้ชัดเจน มีการสร้างไขสีขาว และการขับน้ำหวานที่มีสีใสออกมา เมื่อสัมผัสอากาศนาน ๆ ก็จะเริ่มแข็งตัวและเปลี่ยนเป็นสีเหลือง สีทอง สีน้ำตาล 2.ไม้อาศัยต้นใหญ่และมีความสูงมาก เราอาจจะสังเกตได้ดังนี้ เรียบเรียง :

แมลงศัตรูพืชในฤดูร้อนที่ต้องระวัง ฤดูร้อนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก บรอกโคลี กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม ฯลฯ ต้องเผชิญกับศัตรูพืชต่าง ๆ เพราะด้วยสภาพอากาศที่มีความชื้นต่ำติดต่อกันยาวนานหลายเดือน นับเป็นสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับแมลงศัตรูพืช ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชที่ปลูกได้ โดยแมลงศัตรูพืชที่พบมากในช่วงอากาศร้อน เช่น เพลี้ยอ่อน ด้วงหมัดผัก หนอนใยผัก และหนอนกระทู้ผัก

จุลินทรีย์หน่อกล้วย

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง “จุลินทรีย์หน่อกล้วย” วัตถุดิบ วิธีทำ การนำไปใช้ใช้น้ำหมักชีวภาพอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงปั่นดินนาทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

แคดเมียน (CADMIUM) คืออะไร??แคดเมียนเป็นแร่โลหะชนิดหนึ่ง สามารถเกิดขึ้นได้เองในธรรมชาติ โดยอาจมาจากวัตถุต้นกำเนิดดิน การทำเหมืองแร่ โรงงานผลิตไฟฟ้าโดยใช้ถ่านหิน การทำแบตเตอรี่ การใช้ปุ๋ย และสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในการเกษตร และสามารถพบแคดเมียมปนเปื้อนได้ในอาหารและน้ำ การปนเปื้อนโลหะหนักในดิน มีสาเหตุมาจากกิจกรรมทางการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น การทิ้งของเสียโดยไม่มีการจัดการอย่างเหมาะสม ทำให้เกิดการตกค้างและสะสมโลหะหนักในดิน เช่น สารหนู แคดเมียม ตะกั่ว ปรอท เป็นต้น

แมลงสิง ศัตรูข้าวระยะออกรวง รูปร่างลักษณะ ลักษณะการทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนด้านอารักขาพืชและดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญชวนร่วมงานรณรงค์สร้างการรับรู้และการเรียนรู้การเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Day)  พบกับกิจกรรมที่น่าสนใจภายในงาน สถานีเรียนรู้เกี่ยวกับการทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการออกร้านจำหน่ายสินค้าจากเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรต่าง ๆ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัด สุราษฎร์ธานี

ขอเชิญชวนร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร ไตรมาส 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ภายในงานพบกับ  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่

27. พืชสมุนไพรน่ารู้

27. พืชสมุนไพรน่ารู้

พืชสมุนไพรน่ารู้ DOAE เสนอ “พืชสมุนไพรน่ารู้” เรื่องราวของสมุนไพรที่ใช้ในครัวเรือน อาทิ การเริ่มปลูกสมุนไพรควรปลูกอะไร มีสรรพคุณแบบไหน และหลักการใช้สมุนไพรที่ถูกต้องมีอะไรบ้าง ตามมาหาคำตอบในโพสต์นี้กันเลย

26. ระวัง การรับประทานผัก-ผลไม้ ถ้ายังไม่รู้จักการเลือกซื้อและวิธีลดสารตกค้าง

26. ระวัง การรับประทานผัก-ผลไม้ ถ้ายังไม่รู้จักการเลือกซื้อและวิธีลดสารตกค้าง

ระวัง การรับประทานผัก-ผลไม้ ถ้ายังไม่รู้จักการเลือกซื้อและวิธีลดสารตกค้าง ผัก-ผลไม้ เป็นสิ่งที่จำเป็นต่อร่างกาย แต่ก็มักพ่วงมาด้วยสารเคมีตกค้าง แล้วจะทำอย่างไรให้เราบริโภคผัก-ผลไม้ได้อย่างปลอดภัย มาหาคำตอบในโพสนี้กันเลยค่ะ

25. คลินิกพืช

25. คลินิกพืช

คลินิกพืช DOAE ชวนทำความรู้จักคลินิกพืช หน่วยบริการที่จะช่วยให้เกษตรกรสามารถแก้ไขปัญหาศัตรูพืช และป้องกันกำจัดศัตรูพืชได้อย่างตรงจุด ถ้าหากเกษตรกรอยากเข้ารับบริการต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง สถานที่ตั้งคลิกนิกพืชอยู่ที่ใด? เปิดให้บริการวันไหนบ้าง? สามารถกดอ่านข้อมูลต่างๆ ได้ในโพสต์นี้เลยค่ะ

24. การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

24. การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

การส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แปลงใหญ่ คืออะไร ทำการเกษตรแบบแปลงใหญ่แล้วดีอย่างไร มีใครเข้าร่วมกลุ่มแปลงใหญ่ได้บ้าง และมีเงื่อนไขอย่างไร วันนี้มาไขข้อข้องใจกันค่ะ

23. การสมัครเข้าร่วมเว็บไซต์ตลาดเกษตรกรออนไลน์

23. การสมัครเข้าร่วมเว็บไซต์ตลาดเกษตรกรออนไลน์

การสมัครเข้าร่วมเว็บไซต์ตลาดเกษตรกรออนไลน์ เว็บไซต์ตลาดเกษตรกรออนไลน์ เป็นช่องทางประชาสัมพันธ์สินค้าที่สร้างรายได้ให้เกษตรกรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก้าวสู่รายได้รวมกว่า 500 ล้านบาท อีกทั้งยังช่วยลดอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจอย่างเห็นผล จนได้รับรางวัลสำเภา – นาวาทอง จากมหาวิทยาลัยหอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สำหรับใครที่สนใจนำสินค้าร่วมประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์นี้ จะต้องมีคุณสมบัติ มีหลักเกณฑ์และเงื่อนไขอย่างไรบ้าง ติดตามได้ใต้โพสต์นี้เลยค่ะ