โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะออกรวง การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง
โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง ปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี
โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pyricularia oryzae. ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะออกรวง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาทhttps://www.facebook.com/DoaeChainat
โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว เกิดจากเชื้อรา สามารถแพร่กระะจาายไปกับลมและติดไปกับเมล็ด ระยะกล้า – ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล กระจายทั่วใบ ถ้าระบาดรุนแรง กล้าข้าวจะแห้งตาย ระยะแตกกอ – แผลจะลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ มีแผลช้ำที่ใบเป็นสีน้ำตาลดำ หลุดจากกาบใบ ระยะออกรวง – ถ้าข้าวเพิ่มเริ่มให้รวง ทำให้เมล็ดลีบ แต่ถ้ารวงแก่ใกล้เก็บเกี่ยว คอรวงจะมีรอยแผลช้ำสีน้ำตาล เปราะหักง่าย การป้องกันและกำจัด1.ใช้พันธุ์ต้านทานโรค2.ควรหว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม3.ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา4.คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา5.ฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร
โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease) โรคไหม้ พบทุกภาคในประเทศไทยในข้าวนาสวนทั้งนาปีและนาปรังและข้าวไร่ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. ซึ่งสามารถทำลายข้าวได้ทุกระยะตั้งแต่เริ่มปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว โรคไหม้จะเกิดขึ้น และแพร่ระบาดได้รุนแรง ถ้ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสม ได้แก่ เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย