ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กับดักมอดเจาะผลกาแฟ อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำกับดัก วิธีการใช้งานกับดักมอดเจาะผลกาแฟพื้นที่ปลูกกาแฟ 1 ไร่ ใช้กับดัก 5-10 จุด เติมสารล่อทุก 2 สัปดาห์ ควรแขวนกับดักมอดเจาะผลกาแฟ บริเวณกิ่งก้านของต้นกาแฟ ให้กระจายทั่วพื้นที่ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 312 (กันยายน – ตุลาคม 2566)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 312 (กันยายน – ตุลาคม 2566)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาแป้งเท้ายายม่อม วิสาหกิจชุมชนผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือคุณยายหง่วน (บ้านมาบหม้อ) ตำบลบ้านปึก อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี หน้า 5 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ สื่อเกษตร ต้องที่คลังความรู้ กรมส่งเสริมการเกษตร Easy to Search, Ready to Use. หน้า 8 เกษตรอัจฉริยะการส่งเสริมวิสาหกิจเกษตรฐานชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น หน้า 10 สาระเกษตรมาตรฐานชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร หน้า 13 เกษตร Next Genเครือข่ายวิสาหกิจชุมชนเกษตรอินทรีย์จังหวัดอำนาจเจริญ วิสาหกิจชุมชนดีเด่น ระดับประเทศ ปี 2566 กรมส่งเสริมการเกษตร “ปลูกข้าวเป็นยา ทำนาอินทรีย์เป็นเนื้อ สร้างสมดุลสิ่งแวดล้อม” หน้า 15 เรื่องจากปกกรมส่งเสริมการเกษตรคว้า 25 รางวัลเลิศรัฐ ประจำปี 2566 รางวัลแห่งเกียรติยศจากความสำเร็จการมุ่งมั่นปฏิบัติราชการ หน้า 20 เกษตรเพิ่มมูลค่าพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าหม้อห้อมจากอัตลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น สู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ยั่งยืน กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านทุ่งโฮ้ง หมู่ 5 ตำบลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 311 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2566)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 311 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2566)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาการเพาะเลี้ยงเห็ดตับเต่า ตำบลสามเรือน อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา หน้า 4 เกษตร Next Genกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร กลไกสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับชุมชน หน้า 6 สาระเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรนำเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ส่องเทคโนโลยีการผลิตผักและผลไม้ ณ ประเทศญี่ปุ่น หน้า 9 สาระเกษตรเรื่องเล่า…ชาวกาแฟ หน้า 11 เกษตรอัจฉริยะ“ศูนย์เรียนรู้ทัศนพัฒน์” เกษตรกรปราดเปรื่องต้นแบบ (Smart Farmer Model) จังหวัดฉะเชิงเทรา หน้า 13 เรื่องจากปก70 ปี ยุวเกษตรกรไทย พลังคนรุ่นใหม่ ร่วมขับเคลื่อนอนาคตภาคการเกษตรไทย หน้า 18 เกษตรเพิ่มมูลค่าFuture Food อาหารแห่งอนาคต ส่งเสริมความมั่นคงทางอาหารและาร้างรายได้ให้แก่ชุมชน หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตรรอบทิศขยายลต้นแบบการปลูกกล้วยหินปลอดโรคเหี่ยว สร้างความมั่นใจสู่เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดยะลา หน้า 24 เกษตรรอบทิศศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนตำบลเดิมบาง อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี ต้นแบบความสำเร็จการทำนาลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก หน้า 26 เกษตรรอบทิศกินมังคุดให้ปังต้องที่พัง

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 310 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2566)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 310 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2566)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลโครงการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่ ต้นแบบเกษตรผสมผสานสร้างรายได้ เชื่อมโยงเครือข่าย สร้างความเข้มแข็งในชุมชน หน้า 4 เกษตร Next Gen“PK CHOCOLATE” แหล่งเรียนรู้การปลูกโกโก้ครบวงจร ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ จังหวัดชลบุรี หน้า 7 เกษตร BCGBCG Value Chain มันสำปะหลัง อำเภอวังม่วง จังหวัดสระบุรี หน้า 10 เกษตรอัจฉริยะพัฒนาคุณภาพกระบวนการผลิตทางการเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม โครงการ 1 อำเภอ 1 แปลงเกษตรอัจฉริยะ หน้า 13 เรื่องจากปกพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และวันเกษตรกรประจำปี 2566 สิริมงคลแห่งพืชพันธุ์ธัญญาหาร สร้างขวัญกำลังใจเกษตรกรทั่วประเทศ หน้า 18 เกษตรเพิ่มมูลค่าวิสาหกิจชุมชนผลิตแป้งข้าวขาวดอกมะลิ 105 พัฒนาผลิตภัณฑ์แป้งจากปลายข้าวหอมมะลิ คงคุณค่าเอกลักษณ์ข้าวหอมไทย หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตรรอบทิศเกลือหวานปัตตานี มรดกแห่งภูมิปัญญา เอกลักษณ์เดียวในคาบสมุทรแหลมมลายู หน้า 24 เกษตรรอบทิศลำไยเบี้ยวเขียวป่าเส้า ลำไย GI แห่งเมืองลำพูน หน้า 26 สาระเกษตรน้ำผึ้งแท้หรือน้ำผึ้งปลอม รู้ผลได้แม่นยำ ด้วยการตรวจวิเคราะห์

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 309 (มีนาคม – เมษายน 2566)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 309 (มีนาคม – เมษายน 2566)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลโครงการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่ แก้ปัญหาความยากจนเพื่อคุรภาพชีวิตที่ดีในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ หน้า 4 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ “ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.)” ตัวช่วยเกษตรกรจัดการเรื่องดินและปุ๋ย หน้า 6 เกษตร Next Genเปิดโลก เปิดประสบการณ์ฝึกงาน ผู้นำเยาวชนเกษตรไทย ณ ประเทศญี่ปุ่น หน้า 9 สาระเกษตรรวมพลังสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร “การปลูกข้าวแบบล้มตอซัง บ้านคูบางหลวง อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี” ภายใต้โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น หน้า 12 เกษตรอัจฉริยะกรมส่งเสริมการเกษตร ผนึกกำลังส่งเสริมการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่แปลงต้นแบบเกษตรอัจริยะ “ระบบบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)” หน้า 14 เรื่องจากปกเตรีมพร้อมรับมือสถานการณ์น้ำ วางแผนปลูกพืชในช่วงฤดูแล้ง หน้า 18 เกษตรเพิ่มมูลค่าวิสาหกิจชุมชนภูริธาราพรรณ ยกระดับกระชายขาวพืชอัตลักษณ์ท้องถิ่น สู่เครื่องดื่มกระชายผง พร้อมชงดื่มสำเร็จรูปด้วยเทคโนโลยีฟรีซดราย หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 308 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2566)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 308 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2566)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลกินผลไม้ 100 ปี กินลูกหยีบูโด ยกระดับกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านนากอ สู่วิสาหกิจชุมชนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรบ้านนากอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส หน้า 4 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ “เห็ดแครง” อาหารแห่งอนาคต หน้า 6 เกษตร Next Genวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์พืชผักสมุนไพรและผลไม้ ต้นแบบการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม พัฒนาผลิตภัณฑ์ตามหลัก BCG Model แหล่งเรียนรู้ของชุมชน สู่สถาบันเกษตรกรดีเด่นแห่งชาติ หน้า 8 เกษตร BCGการส่งเสริมการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร สู่การขับเคลื่อน BCG Model หน้า 10 เกษตรอัจฉริยะก้าวไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมสู่ศูนย์เรียนรู้นวัตกรรมด้านการเกษตรของชุมชน ภายใต้แนวคิด “Next of The Next” เกษตรไทยก้าวไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม หน้า 12 เรื่องจากปกการขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ด้วยกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร (Farmer Field School : FFS) หน้า 18 สาระเกษตรการผลิตและใช้แหนแดง หน้า 20 เกษตรเพิ่มมูลค่าwww.ตลาดเกษตรออนไลน์.com สร้างรายได้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง มูลค่ากว่า 600 ล้านบาท หน้า 22 ชายคา DOAE