ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

มารู้จัก “หมอพืช”

หมอพืช คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ผู้มีความรู้และความสามารถในการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องต้น และให้คำแนะนำการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ให้กับเกษตรกร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย 

คลินิกพืช

“คลินิกพืช” ให้บริการตรวจวินิจฉัย และแก้ไขปัญหาอาการผิดปกติของพืชได้อย่างตรงจุด คลินิกพืช (Plant Clinic) คือ การให้บริการตรวจวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช รวมถึงให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืช ที่เกษตรกรสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยยึดหลักการจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสานที่ถูกต้องและเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ หากเกษตรกรพบปัญหาอาการผิดปกติของพืช สามารถขอรับคำปรึกษาหรือคำแนะนำได้จากคลินิกพืชของกรมส่งเสริมการเกษตร ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัดในพื้นที่ และศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย 

เปิดรับสมัครด่วน จำนวนจำกัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 0 3959 7229ท่านใดสนใจสามารถติดต่อสำนักงานเกษตรอำเภอแหลมงอบ

อบรมฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่ายเชิญชวนเกษตรกรผู้สนใจอบรมโครงการพัฒนาและยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรแบบครบวงจร ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนจังหวัดตราดโดยวิทยากรผู้มีประสบการณ์ ” ดร. พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล” ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม 0 3959 7229

อบรมฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่ายเชิญชวนเกษตรกรผู้สนใจอบรมโครงการพัฒนายกระดับการผลิตสินค้าเกษตรแบบครบวงจรลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร และการตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร ท่านใดสนใจอบรม นำสำเนาบัตรประชาชนมาวันอบรมด้วยนะคะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม  0 3959 7229

วันที่ 7 มิถุนายน 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 ชิ้น ขอแสดงความยินดีกับ นายวีรศักดิ์ บุญเชิญ และนายสุริยะ คำปวง เนื่องในโอกาสได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร

การอบรมอาชีพด้านแมลงเศรษฐกิจตามอัธยาศัย หลักสูตร “จิ้งหรีด กับแกล้มก็ดี มีรายได้เสริม สำหรับมือใหม่” ในรูปแบบ online ในวันพุธ ที่ 12 มิ.ย. 67 เวลา 09.00-12.00 น. ลิงค์เข้าร่วมประชุม (Invite Link) : https://zoom.us/j/98839744396… หมายเลขห้องประชุม

แนะนำหนังสือใหม่ เดือนมิถุนายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

TikTok “เกษตรมาแล้ว” สุดปัง!! คลิปเชิญชวนเกษตรกรแจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ยอดรับชมมากกว่า 74,000 วิว กดถูกใจ มากกว่า 1,646 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 5 มิ.ย. 67) ร่วมรับชมและเป็นส่วนหนึ่งในผู้ติดตามของ TikTok เกษตรมาแล้ว ด้วยวิธีการดังนี้วิธีที่ 1

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

เตือนภัยการเกษตร “เพลี้ยไฟทุเรียน” ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช

โรคไหม้ข้าว เกิดจากเชื้อรา สามารถแพร่กระะจาายไปกับลมและติดไปกับเมล็ด ระยะกล้า – ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล

เตือนภัยการเกษตร “เพลี้ยจักจั่นมะม่วง” ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช

ด้วงหนวดยาวอ้อย เตือนชาวไร่อ้อย เฝ้าระวัง “ด้วงหนวดยาวอ้อย” เข้าทำลายอ้อยตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว โดยหนอนของด้วงหนวดยาวจะเข้าไปในส่วนของลำต้นอ้อยที่อยู่ใต้ดิน ทำให้อ้อยแห้งตาย ในอ้อยปลูกหากพบด้วงหนวดยาวเข้าทำลายจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อยลดลง

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips) ในช่วงเข้าฤดูแล้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก เฝ้าระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟพริก ในช่วงระยะยอดอ่อน ใบอ่อน

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รูปร่างลักษณะ ระยะเข้าทำลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ลักษณะการทำลายและการระบาด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม