สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 http://library.doae.go.th
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 http://library.doae.go.th
วันที่ 28 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร พร้อมด้วย นายครองศักดิ์ สงรักษา รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายวีรศักดิ์ บุญเชิญ รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร นายสุริยะ คำปวง รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร ผู้อำนวยการกอง/สำนักส่วนกลาง
วันที่ 28 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวปิดและร่วมประกาศความสำเร็จในการดำเนินโครงการการจัดการห่วงโซ่อุปทานข้าวและมันฝรั่ง เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ ด้วยวิธีการปลูกข้าว มันฝรั่งและข้าวโพดหมุนเวียนอย่างยั่งยืน (RePSC) ณ โรงแรมเรอเนสซองส์ กรุงเทพฯ ราชประสงค์
วันที่ 27 ตุลาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เข้าเฝ้าฯ รับเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินี ในการเสด็จพระราชดำเนินทรงบำเพ็ญพระราชกุศลถวายผ้าพระกฐิน โดยขบวนพยุหยาตราทางชลมารค เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28
พืชสมุนไพรน่ารู้ กับ 3 เอกสารแนะนำ เรื่องราวของสมุนไพร ตั้งแต่การเริ่มปลูกสมุนไพร ควรปลูกอะไร มีสรรพคุณแบบไหน รวมถึงชี้เป้าแหล่งผลิตและจำหน่ายพืชสมุนไพร อ่านครบจบในโพสต์นี้เลย พืชสมุนไพรน่ารู้คลิกอ่าน : https://bit.ly/3UdAg5e สมุนไพรประจำบ้านคลิกอ่าน :https://bit.ly/304d9h2 ชี้เป้า แหล่งผลิตและจำหน่ายพืชสมุนไพรคลิกอ่าน : https://bit.ly/3Y3yEMk
“แนวทางการขับเคลื่อนงานกรมส่งเสริมการเกษตร ปี 2568” C4 : Collaboration > Connect > Create > Consortium“ทำงานร่วมกัน เชื่อมต่องาน สร้างสรรค์ แบ่งปันข้อมูลและเติบโตไปพร้อมกัน” เป้าหมายสำคัญ ขับเคลื่อนผ่าน >>>
พร้อมเดินหน้าเกษตรมูลค่าสูง สานต่อผลสำเร็จจาก 46 แปลง เพิ่ม 200 แปลง ในปี 68 ทำดี ทำต่อ ทำตาม จากคนสำเร็จ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)
นักส่งเสริมการเกษตร ต้องเรียนรู้การจัดการสุขภาพพืช วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของสภาพแวดล้อม ที่มีผลต่อโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ รวมถึงประเมินความเสี่ยงและส่งต่อข้อมูลให้เกษตรกร นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)
ยกระดับ 50 ศูนย์ปฏิบัติการ เป็น Academy ใช้เทคโนโลยี และงานวิจัยใหม่ ตอบโจทย์สถานการณ์โลก นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)
ต้องเร่งสร้างความตระหนักรู้ ผลักดันให้เกษตรกรทำการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรในงานสัมมนาแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 (19 ตุลาคม 2567)
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
ขอเชิญร่วมอบรม “การบริหารจัดการศัตรูพืช ในสวนปาล์มน้ำมันแบบผสมผสาน”
ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่จังหวัดสระบุรี
ขอเชิญร่วมอบรม “การบริหารจัดการศัตรูพืช ในสวนปาล์มน้ำมันแบบผสมผสาน”
ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่จังหวัดสระบุรี
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบหนอนหัวดำ วงจรชีวิต ไข่ – วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่มีสีเหลืองอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หนอน
เฝ้าระวังจักจั่นอ้อย ในเขตพื้นที่อ้อยชลประทาน เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท
เฝ้าระวังด้วงแรดมะพร้าว ลักษณะการเข้าทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
เพลี้ยอ่อนในพริก ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและยอดการทำลายของเพลี้ยอ่อนในพริก จะทำให้ใบบิดเป็นคลื่น ทำให้ต้นพริกชะงักการเจริญเติบโต และยังเป็น “พาหะนำเชื้อไวรัส ทำให้เกิดโรคใบด่างในพริก” มักระบาดในช่วงอากาศแห้งแล้ง
หนอนปลอกเล็ก หนอนปลอกเล็กจะแทะผิวใบ ทำให้ใบแห้งเป็นสีน้ำตาล และกัดทะลุใบเป็นรูขาดแหว่ง ถ้าเข้าทำลายรุนแรงจะเห็นทางใบทั้งต้น เเป็นสีน้ำตาลแห้ง ต้นชะงักการเจริญเติบโตผลผลิตลดลง หรือไม่ได้ผลผลิต
เพลี้ยอ่อนถั่วฝักยาว ส่วนที่ถูกเพลี้ยอ่อนทำลาย ใบอ่อนหงิกงอ ดอกร่วง ไม่ติดฝัก และหากฝักอ่อนถูกดูดกินน้ำเลี้ยงจะทำให้ฝักมีขนาดเล็กลง หากการทำลายรุนแรงจะทำให้หยุดการเจริญเติบโตและตายในที่สุด เพลี้ยอ่อนยังปล่อยของเหลว