ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ชวนอ่านเรื่องราวของ “การฟิ้นฟูแปลงผัก พืชสมุนไพร ยางพารา และสวนมะพร้าวหลังน้ำลด”รู้ก่อน เข้าใจก่อน กับ 4 เอกสารแนะนำดังนี้ การฟื้นฟูแปลงผักหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/48HwaaH การฟื้นฟูพืชสมุนไพรหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/3U4phvu การฟื้นฟูสวนยางพาราหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/42336ry การฟื้นฟูมะพร้าวหลังน้ำลดคลิกอ่าน : https://bit.ly/3T5S6q4 เรียบเรียง

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567 จัดทำโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร จัดกิจกรรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” จำนวนผู้เข้าอบรม 66 ท่าน โดยแบ่งเป็นรอบเช้า 36 ท่าน รอบบ่าย 30 ท่าน วิทยากรโดย กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ณ ห้องประชุม

งานนำเสนอเรื่องการปลูกพืชผัก ภายใต้ “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร เรียบเรียงโดย : กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

วันที่ 4 กันยายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดสิงห์บุรี ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 1,500 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

แผ่นพับที่ 5/2567 แป้งเท้ายายม่อม ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดชลบุรี “เท้ายายม่อม” พืชพื้นเมืองประเภทแป้งชนิดหนึ่ง เป็นทรัพยากรทางธรรมชาติด้านพืชพรรณที่บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายของพืชท้องถิ่นในประเทศไทย พบมากบริเวณภาคตะวันออกและภาคใต้ ส่วนในภาคกลางและภาคตะวันออก จะพบขึ้นกระจายในธรรมชาติบริเวณป่าผลัดใบต่าง ๆ ป่าดิบแล้งที่เป็นดินทราย และบริเวณที่มีร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ โดยในพื้นที่ภาคตะวันออกพบได้ตั้งแต่ป่าละเมาะ หาดทราย ไปจนถึงบนเขาหินปูนที่ไม่สูงมากนัก เท้ายายม่อมจัดเป็นพืชล้มลุกฤดูเดียวโดยธรรมชาติ มีระยะเวลาการเจริญเติบโตอย่างน้อย 3 ปี ขึ้นไปจากเมล็ดเป็นพืชที่มีหัวสะสมแป้ง

ประกาศรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการฝึกอบรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” เพื่อเข้าร่วมอบรมในวันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบเช้า (8.30 – 12.00 น.) รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบบ่าย (13.00

การฟื้นฟูแปลงและปลูกพืชผัก ดินเปียก น้ำขัง การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา เพื่อเตรียมเพาะกล้าเตรียมส่วนผสม (คลุกเคล้าให้เข้ากัน) เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่

การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลดและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าว การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลด การเกิดน้ำท่วมในพื้นที่นาข้าว อาจเกิดได้ 2 กรณี คือ จากฝนตกหนักน้ำป่าไหลหลาก เกิดน้ำท่วมฉับพลับ หรือเกิดจากน้ำท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวเสียหาย โดยขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของข้าว ความลึกของน้ำ และระยะเวลาการท่วมขัง การจัดการนาข้าว การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ใช้ควบคุมโรคที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อราสำหรับนาข้าว มีอัตราการใช้ดังนี้ เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

คำแนะนำการป้องกันกำจัด “เพลี้ยจักจั่นมะม่วง” ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช

คำแนะนำการป้องกันกำจัด โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา ลักษณะอาการ : อาการเริ่มแรกเกิดจุดช้ำบริเวณใต้ใบและด้านบนของใบบริเวณเดียวกันจะเป็นสีเหลืองกลม ต่อมาขยายใหญ่ขึ้นเป็นสีคล้ำขอบแผลดำ และกลายเป็นเนื้อเยื่อแห้ง สีน้ำตาลจนถึงขีดขาวซีด

เฝ้าระวัง แมลงศัตรูถั่วเหลือง สภาพอากาศในช่วงนี้มีอากาศเย็นตอนเช้า และตอนกลางคืน กลางวันมีอากาศร้อน เกษตรกรควรระมัดระวัง หนอนกระทู้ผัก ในระยะเจริญเติบโตทางลำต้น

หนอนกอข้าว หนอนกอข้าวที่พบทําลายข้าวในประเทศไทย มี 4 ชนิด ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน1.หนอนกอสีครีม Scirpophaga incertulas

โรคใบจุดสาหร่ายในเงาะ ลักษณะอาการ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่

โรคเหี่ยวเขียวในพริก เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพริก รับมือโรคเหี่ยวเขียว (เชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum) ต้นพริกแสดงอาการเหี่ยวในเวลากลางวันที่อากาศร้อนจัด และฟื้นกลับมาปกติในเวลากลาง

Share this:

Like this:

Like Loading...