ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

แมลงศัตรูมะพร้าว ด้วงแรดมะพร้าว หนอนหัวดำมะพร้าว แมลงดำหนามมะพร้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญพี่น้องชาวกรมส่งเสริมการเกษตร เข้าร่วมสนุกกับกิจกรรม “DOAE ผ้าไทยใครใส่ก็ดูดี ปี 2 ” ในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ 2567 โพสต์ภาพสวมใส่ผ้าไทยพร้อมอุปกรณ์เล่นน้ำสงกรานต์ ชิงรางวัลพิเศษ กติการ่วมสนุก 1. ส่งภาพการแต่งกายผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมืองพร้อมอุปกรณ์เล่นน้ำสงกรานต์ของท่าน มายังไดรฟ์ >> https://forms.gle/F3pUStrfPdy44LZp8 โดยภาพที่โพสต์ ท่านสามารถครีเอทท่าทาง ตกแต่งภาพได้ไม่จำกัดไอเดีย ไม่จำกัดจำนวนคนในภาพ ใส่แคปชั่นเก๋ ๆ

กล้วยเบรกแตก

น้าเยี่ยมติดดาว แนะนำสินค้าใหม่จากเว็บไซต์ www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com  “กล้วยเบรคแตก”วิสาหกิจชุมชนขนมบ้านบ้าน ต.ท้ายดง อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์โทร. 0852269951 คลิก https://www.xn--12ca9cdcza1fboh6b4ca0evmxcuh.com/p/3783/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81.html

คำแนะนำ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผักผลไม้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่

รู้จักแมลงดีควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าว มารู้จักกับแมลงศัตรูธรรมชาติ หรือ แมลงดีที่สามารถควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวไดด้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเข้าสู่ฤดูร้อนและสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้เกิดการระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าวในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ที่พบพื้นที่การระบาดมาก ดังนั้น มาทำความรู้จักและอนุรักษ์แมลงดีในสวนมะพร้าวกัน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

เฝ้าระวังจักจั่นอ้อย ในเขตพื้นที่อ้อยชลประทาน เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สระบุรี และจังหวัดลพบุรี สำรวจแปลงอ้อยช่วงระยะงอกจนถึงระยะย่างปล้อง หรือตั้งแต่เดือนเมษายน-สิงหาคม เป็นช่วงที่ตัวเต็มวัยออกผสมพันธุ์และวางไข่ โดยจักจั่นเพศผู้ใช้อวัยวะทำเสียงเรียกหาคู่ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว

ธาตุเหล็ก-Fe

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “เหล็ก-Fe” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดธาตุเหล็ก การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุเหล็ก เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ธาตุแมงกานีส-Mn

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “แมงกานีส-Mn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดแมงกานีสและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุแมงกานีส เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ธาตุสังกะสี-Zn

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “สังกะสี-Zn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดสังกะสีและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุสังกะสี เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ธาตุโบรอน-B

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “โบรอน-B” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดโบรอนและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุโบรอน เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

เพลี้ยหอย ศัตรูทุเรียน (Scale Insects) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาhttps://www.facebook.com/people/ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช-จังหวัดสงขลา/100068931140391/

การฟื้นฟูแปลงและปลูกผักหลังน้ำลด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

โรคใบจุดซิกาโตกาสีเหลือง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพังงา https://www.facebook.com/doae.phangnga

เพลี้ยไก่แจ้ส้ม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพังงา https://www.facebook.com/doae.phangnga

โรคใบจุดตากบในผักสลัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพังงา https://www.facebook.com/doae.phangnga

โรคลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพังงา https://www.facebook.com/doae.phangnga