ขอความร่วมมือผู้ประกอบการร้านค้า และชาวสวน แจ้งแหล่งที่มาของทุเรียนให้ชัดเจน เพื่อช่วยกันรักษาภาพลักษณ์ที่ดีของ “ทุเรียนอุตรดิตถ์” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
ขอความร่วมมือผู้ประกอบการร้านค้า และชาวสวน แจ้งแหล่งที่มาของทุเรียนให้ชัดเจน เพื่อช่วยกันรักษาภาพลักษณ์ที่ดีของ “ทุเรียนอุตรดิตถ์” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์
เส้นทางท่องเที่ยวสวนทุเรียนภูเขาชะอม ต.ชะอม อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
การดูแลรักษาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม หากเกิดภัยธรรมชาติในสวนไม้ผล เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร
สำนักพระราชวัง ขอเชิญชวนประชาชนร่วมลงนามถวายพระพร สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าทีปังกรรัศมีโชติ มหาวชิโรตตมางกูร สิริวิบูลยราชกุมาร เนื่องในโอกาสวันคล้ายวันประสูติ วันที่ 29 เมษายน 2567 ผ่านระบบออนไลน์ ที่เว็บไซต์หน่วยราชการในพระองค์ www.royaloffice.th ระหว่างวันที่ 28–30 เมษายน 2567
ประชาสัมพันธ์ โครงการคนภูเก็ตปลูกพืชอาหารปลอดภัยจากสารพิษ รับสมัคร เกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้าร่วมการอบรม โดยมีการบรรยายและสาธิต การปลุกพืชในภาชนะ และในแปลง การดูแลลรักษา การขยายพันธุ์ และการใช้ประโยชน์พืชผัก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดภูเก็ต
เตือนเฝ้าระวัง ! หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) เนื่องจากสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในช่วงนี้มีอุณหภูมิสูง และฝนทิ้งช่วง เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย โดยเฉพาะในระยะแตกกอ และย่างปล้อง เฝ้าระวังการระบาดของ หนอนกออ้อย โดยหมั่นสำรวจแปลงอ้อยอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบการเข้าทำลายของหนอนกออ้อยให้รีบแจ้งสำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน เพื่อดำเนินการควบคุมและป้องกันกำจัดทันที สาเหตุ หนอนกอที่เข้าทำลายอ้อยในระยะแตกกอมี 3 ชนิด ได้แก่ ลักษณะอาการ
เฝ้าระวังร้อน แล้ง แมลงศัตรูพืชตัวร้าย เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน หนอนกออ้อย หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
แนวทางดูแลไม้ผลในช่วงวิกฤตแล้ง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่
แมลงบั่ว ลักษณะและการระบาด เรียบเรียงโดย :
โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง สาเหตุ : เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกัน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
ศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (มีนบุรี)
3 วิธีป้องกัน “ตั๊กแตน” ศัตรูพืช ระบาด
ขอเชิญร่วมอบรมหลักสูตรการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (มีนบุรี)
3 วิธีป้องกัน “ตั๊กแตน” ศัตรูพืช ระบาด
ขอเชิญร่วมอบรมหลักสูตรการเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบลำต้นเน่าปาล์มน้ำมัน จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาฉบับที่ 3 ประจำเดือนมีนาคม 2566
แตนเบียนทำลายผลสละ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา https://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391
หนอนปลอกเล็ก สำนักงานเกษตรอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุงปีที่ 11 ฉบับที่ 20 ประจำเดือนเมษายน 2566
การระบาดเพลี้ยไฟในช่วงฤดูแล้ง สำนักงานเกษตรอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุงฉบับที่ 1 เดือนมีนาคม 2566เตือนระวัง “การระบาดเพลี้ยไฟในช่วงฤดูแล้ง”
หนอนด้วงหนวดยาวในทุเรียน สำนักงานเกษตรอำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุงฉบับที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์ 2566เตือนระวัง “หนอนด้วงหนวดยาวในทุเรียน”
รู้จักศัตรูธรรมชาติ “ด้วงเต่าลายหยัก” ด้วงเต่าลายหยัก (Menochilus sexmaculatus) มิตรตัวน้อยที่คอยกินเพลี้ยอ่อนให้เรา ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยสามารถกินเพลี้ยได้หลายชนิดโดยเฉพาะเพลี้ยอ่อน ตัวอ่อนด้วงเต่าที่ออกจากไข่ใหม่ๆ