ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ข้อกำหนดการส่งออกมังคุดไปญี่ปุ่น ภายใต้มาตรการแนวทางดำเนินการในรูประบบ Systems approach ; SA สวนมังคุดสวนที่ขึ้นทะเบียนกับกรมวิชาการเกษตร (กวก.) ต้องปฏิบัติ ดังนี้– มีใบรับรอง GAP– ผลิตตามกรมวิชาการเกษตร– มีการจัดการสวนมังคุด โรงคัดบรรจุ1. ขึ้นทะเบียนโรงคัดบรรจุกับกรมวิชาการเกษตร2. ส่งแบบฟอร์มคำขอเข้าร่วม “โครงการส่งออกมังคุดผลสดไปประเทศญี่ปุ่นภายใต้มาตรการ SA”3. พนักงานต้องอบรมการคัดแยกและตรวจสอบผลมังคุดจากกรมวิชาการเกษตร4. ผลมังคุดต้อง –

การดูแลรักษาพืชผักในช่วงแล้ง 1. รักษาความชื้นในดิน 2. การจัดหาแหล่งน้ำให้เพียงพอ 3. พรางแสงด้วยสแลน 4. ระวังป้องกันศัตรูพืชในฤดูแล้ง เช่น ด้วงหมัดผัก หรือด้วงหมัดกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันะ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

การดูแลต้นไม้ในช่วงฤดูแล้ง การให้น้ำ การใช้วัสดุคลุมดิน การตัดแต่งกิ่ง การกำจัดวัชพืชและแนวกันไฟ การใส่ปุ๋ย การเสริมความแข็งแรงให้พืช กรณีที่ไม่มีระบบน้ำหรือน้ำสำรองไว้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักพืช จังหวัดสุพรรณบุรี

อุปกรณ์แยกขยายชันโรง ชุดปฏิบัติงาน สำหรับใช้ในการแยกขยายพันธุ์ชันโรง ควรเลือกเสื้อผ้าสีอ่อน ๆ หรือเป็นผ้าร่มหลีกเลี่ยงสีดำ เพราะชันโรงชอบตอมสีดำ จะทำให้เกิดการสูญเสียประชากรของชันโรง การมีหมวกตาข่ายไว้ป้องกันชันโรงตอมและกัด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียงเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

รับสมัครเกษตรกรที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผลให้มีคุณภาพดี (ทุเรียน) การบริหารจัดการทุเรียนตลอดกระบวนการผลิตและการตลาด **สมัครได้ตั้งแต่บัดนี้ – วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 (จำนวนจำกัด 15 คน) ณ สำนักงานเกษตรอำเภอสวนผึ้ง (อาคารสีเขียวติดกับที่ว่าการอำเภอสวนผึ้ง) สอบถามเพิ่มเติม โทร : 032-395015

เรียนฟรี สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร เปิดกิจกรรมโรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “ต่อยอดรายได้เกษตรกรด้วยคาร์บอนเครดิต” ให้กับเกษตรกรและประชาชนที่สนใจสมัครเรียน โดยเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง คาร์บอนเครดิต ที่ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และเหมาะสม สมัครเรียนได้ ตั้งแต่วันนี้ – 17 พฤษภาคม 2567 เรียนผ่านช่องทาง ลงทะเบียนเรียน ได้ที่

แตนเบียนบราคอน เป็นแตนเบียนท้องถิ่น พบได้ในธรรมชาติ ทำลายศัตรูพืชระยะหนอน มีขนาดเล็กประมาณ 1.3-2.7 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนดำ หรือดำ เพศเมีย มีอวัยวะวางไข่โดยจะวางไข่บนหนอนของผีเสื้อ ก่อนวางไข่ แตนเบียนบราคอนจะปล่อยสารชนิดหนึ่งทำให้หนอนเป็นอัมพาตแล้วจึงวางไข่บนตัวหนอน เมื่อไข่ฟักออกมาเป็นตัวหนอนจะดูดน้ำเลี้ยงบนตัวหนอนผีเสื้อจนตัวหนอนตาย เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี หนอนผีเสื้อข้าวสารที่ใช้ในการเบียน แตนเบียนบราคอนนั่นใช้วัยที่ 5

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

ไรแดงในมันสำปะหลัง จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

โรคกุ้งแห้งพริก จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

เพลี้ยหอยเกล็ดขาวในมันสำปะหลัง จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

แมลงบั่วและริ้นน้ำจืด จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

Share this:

Like this:

Like Loading...