ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กำหนดวันเก็บเกี่ยวทุเรียนภาคตะวันออก ปี 2567 โดยได้กำหนดค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียนแต่ละสายพันธุ์ไว้ ดังนี้ อ้างอิงตามมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ทุเรียน (มกษ. 3-2556)

การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “ไนโตรเจน-N” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดไนโตรเจน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ด้วงหนวดยาวอ้อย เตือนชาวไร่อ้อย เฝ้าระวัง “ด้วงหนวดยาวอ้อย” เข้าทำลายอ้อยตั้งแต่ระยะเริ่มปลูกจนถึงระยะเก็บเกี่ยว โดยหนอนของด้วงหนวดยาวจะเข้าไปในส่วนของลำต้นอ้อยที่อยู่ใต้ดิน ทำให้อ้อยแห้งตาย ในอ้อยปลูกหากพบด้วงหนวดยาวเข้าทำลายจะส่งผลให้ผลผลิตอ้อยลดลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 314 (มกราคม – กุมภาพันธ์ 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEลดความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน บริหารพัสดุและทรัพย์สินอย่างถูกต้อง หน้า 4 เกษตรต่างแดนกรอบความร่วมมือ MELA (The

สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ขอเชิญชวนเกษตรกรสมัครเข้าร่วมอบรมโครงการเสริมสร้างศักยภาพเกษตรกรผู้นำประจำปี 2567 ติดต่อรับใบสมัครได้ที่เกษตรอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี สมัครได้ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี

งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ Field Day อำเภอขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน 5 ฐานการเรียนรู้

งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ ปี 2567 Field Day 2024 อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง กำหนดจัดในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์เครือข่าย วิสาหกิจชุมชนฮักน้ำจาง หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ภายในงานมีกิจกรรมฐานเรียนรู้ผักและสมุนไพร จำนวน

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips) ในช่วงเข้าฤดูแล้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก เฝ้าระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟพริก ในช่วงระยะยอดอ่อน ใบอ่อน และระยะตาดอกอ่อน เพลี้ยไฟ : ที่มีขนาดเล็กสีน้ำตาลอ่อน เพศเมียวางไข่ในเนื้อเยื่อพืชตามเส้นใบ ทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ทำลายพืชโดยดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบ ดอก ผล ลักษณะการทำลายของเพลี้ยไฟพริก จะเป็นปากแบบเขี่ยดูด (Rasping-sucking) โดยใช้ปากส่วนที่เป็นแท่ง (Stylet)

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

อย่าหยุดอิ่ม จัดเมนูเด็ด😍“ทอดมันผักงอก”เก็บต้นอ่อนทานตะวันที่เพาะไว้เมื่อสัปดาห์ก่อน🌱มาปรุงเป็นเมนูอร่อย บอกเลยว่าง่ายมาก ๆ เลยครับ👌

ต้องลอง!🍴“น้ำพริกกุ้งตะไคร้” เมนูน้ำพริกสุดอร่อย 🌶รสจัดจ้าน หอมสมุนไพร ทำได้ทุกครัวเรือน ทานคู่ผักสดแกล้ม อร่อยเลยครับ 🙆‍♂

ชวนมา “ปลูกผักยกแคร่” 🌱 กับรองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร (นายอาชว์ชัยชาญ เลี้ยงประยูร) เคล็ดลับที่จะทำให้คุณจัดการแปลงผักได้อย่างสะดวกสบาย 👉 ทั้งการให้น้ำ การควบคุมดูแลศัตรูพืชและวัชพืช ลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ

ดีต่อใจและกาย 💖 ปลูก “กุยช่ายเขียว” ครั้งเดียวเก็บเกี่ยวได้ตลอด 👍 ให้ผลผลิต ทั้งกุยช่ายเขียว กุยช่ายขาว และดอกกุยช่าย 👨‍🌾 โดยไม่ต้องเหนื่อยปลูกหลายครั้งให้เสียเวลา

ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 7 จังหวัดมหาสารคาม จัดให้ 👉 เทคนิค “ชำยอดมะนาวและมะกรูดแบบควบแน่น” 🍋 ขยายพันธุ์พืชง่าย ๆ ด้วยอุปกรณ์ภายในบ้าน 💁‍♂ มีขั้นตอนในการทำอย่างไรไปชมกันเลยครับ…  

4 อุปกรณ์และ 6 ขั้นตอนง่าย ๆ 🌻 ในการ “เพาะต้นอ่อนทานตะวัน” 🌱 เพียงสัปดาห์เดียวก็เก็บทานได้ทั้งแบบสดหรือจะปรุงเป็นเมนูอร่อยได้หลากหลาย 👍 ถ้าพร้อมแล้วเรามาเริ่มกันเลยครับ  

Share this:

Like this:

Like Loading...