ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทเสริม การตัดดอกดาวเรือง ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 9 ตัวอย่างเกษตรกรที่ประสบความสำเร็จจากการปลูกพืชสู้แล้งเงินล้าน ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 8 แอปพลิเคชั่น Agri map และแอปพลิเคชั่นเช็คแล้ง ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 7 การจัดการทางการเงินสำหรับเกษตรกร ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

บทที่ 6 ฟักทอง

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 6 ฟักทอง ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “พืชสู้แล้งเงินล้าน” บทที่ 5 การปลูกแตงโมยงสัตว์ ผลิตโดย: สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรAM 1386 KHz. / https://www.am1386.com

โรครากปมในนาข้าว สาเหตุ : ไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne graminicola อาการ มักเกิดในสภาพไร่และแปลงกล้าซึ่งปล่อยให้น้ำแห้ง เมื่อไส้เดือนฝอยตัวอ่อนระยะที่ 2 ฝังหัวเข้าไปที่ปลายรากอ่อนจะปล่อยสารออกมากระตุ้น ให้เนื้อเยื่อบริเวณรอบ ๆ นั้นแบ่งตัวเร็ว และมากกว่าปกติ นอกจากนี้จะมีเซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้น เนื่องจากไส้เดือนฝอยปล่อยน้ำย่อยไปย่อยผนังเซลล์หลายเซลล์ ทำให้เกิดเซลล์ใหม่ขนาดใหญ่ขึ้นมา และมันจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากเซลล์นี้ ทำให้เกิดรากพองขึ้นเป็นปม เมื่อปลายรากเกิดปมขึ้นแล้ว รากนั้นก็จะไม่เจริญต่อไป

โรคผลเน่าทุเรียน (Fruit Rot) อาการ บริเวณปลายผล หรือก้นผลมักพบจุดช้ำสีน้ำตาลปนเทา ต่อมาขยายเป็นวงกลมหรือค่อนข้างรี ไปตามรูปร่างผลแผลดังกล่าวอาจพบได้ตั้งแต่ผลคงอยู่บนต้น แต่ส่วนใหญ่มักพบเกิดกับผลในช่วง ประมาณ 1 เดือน ก่อนเก็บเกี่ยวจนกระทั่งเก็บเกี่ยว และในระหว่างบ่มผลให้สุก วิธีป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชลบุรี

ไรสี่ขามะพร้าว (Coconut mite) หากเกษตรกรพบว่าผลมะพร้าวมีอาการเป็นแผลแห้งสีน้ำตาลเป็นทางยาว ปลายแผลเป็นมุมแหลม โดยเฉพาะบริเวณขั้วผลอ่อน โดยเมื่อสังเกตแล้วไม่พบตัวไร เนื่องจากไรสี่ขาเป็นไรที่มีขนาดเล็ก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ดังนั้น ให้รีบแจ้งหรือขอคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้าน เพื่อหาแนวทางควบคุม และป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง เนื่องจากไรชนิดนี้สามารถเป็นพาหนะนำโรคไวรัสไวรอยด์ และสามารถเข้าทำลายพืชที่สำคัญชนิดอื่น ๆ ได้หลายชนิด วิธีป้องกันกำจัด เรียบเรียง : กลุ่มอารักขาพืช

ด้วงสาคู

คู่มือการเลี้ยงด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู) เรียบเรียง : คณะทำงานบริหารจัดการด้วงงวงมะพร้าว (ด้วงสาคู)ตามคำสั่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ 819/2565ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2564 จัดทำในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ : มกราคม พ.ศ. 2565ดำเนินการผลิตโดย : กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

มวนตัวห้ำ แมลงที่เป็นมิตร

มวนตัวห้ำ แมลงที่เป็นมิตร เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แตนเบียนบราคอน

แตนเบียนบราคอน

แตนเบียนบราคอน แตนเบียนบราคอน เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

ใบร่วงชนิดใหม่กับโรคทางใบชนิดอื่นของยางพารา

ใบร่วงชนิดใหม่กับโรคทางใบชนิดอื่นของยางพารา

ใบร่วงชนิดใหม่กับโรคทางใบชนิดอื่นของยางพารา แผ่นพับปี 2565 ใบร่วงชนิดใหม่กับโรคทางใบชนิดอื่นของยางพารา เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยข้อมูลอ้างอิง : กรมวิชาการเกษตร การยางแห่งประเทศไทยออกแบบ : กลุ่มโรงพิมพ์ สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์

โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา

โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา แผ่นพับปี 2565 โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยข้อมูลอ้างอิง : กรมวิชาการเกษตร การยางแห่งประเทศไทยออกแบบ : กลุ่มโรงพิมพ์ สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์