ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง มาตรการบริหารจัดการป้องกันแและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก ไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ภาคการเกษตร ประกาศลงวันที่ 17 มกราคม 2568

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรพื้นที่ 4 โทรศัพท์ 0 2441 3705

หยุดเผาได้ 5 ดี ผลกระทบจากการเผา ด้านสุขภาพอนามัยการเผา ทำให้เกิดฝุ่น ควัน และก๊าซพิษเป็นอันตรายต่อชีวิต ด้านการเกษตร ด้านสิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย จัดทำโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 3 จังหวัดระยอง

โรคต้นแตกยางไหลในเมล่อน สาเหตุจากเชื้อรา : Mycosphaerella citrulline และ Didymella sp. ช่วงการระบาด : ระบาดมากในช่วงฤดูฝน ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ : แผลจะฉ่ำน้ำ เป็นยางเหนียวสีน้ำตาลแดงที่บริเวณโคนต้น ลำต้น และก้านใบ เมื่อแผลแห้งจะเป็นจุดสีดำเล็ก ๆ กระจายอยู่ทั่วบริเวณแผล แนวทางป้องกัน/แก้ไข นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งสาเหตุที่สำคัญ

การใช้ปุ๋ยในนาข้าวที่เหมาะสมตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ระยะการเจริญเติบโตของข้าว มีความต้องการอาหารแตกต่างกัน ดังนี้ ระยะข้าวงอก (ระยะ 0-1)ถึงระยะกล้า ต้นข้าวจะใช้อาหารที่สะสมในเมล็ดตั้งแต่ข้าวเริ่มงอก จนถึงต้นกล้าอายุ 14-20 วัน ระยะข้าวกล้า (ระยะ 1-2)ต้นข้าวเริ่มดูดธาตุอาหารผ่านราก ต้องบำรุงด้วยปุ๋ยที่มีธาตุอาหารไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 318 (กันยายน – ตุลาคม 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEเทคนิค 3E’s เพื่อการตรวจสอบการดำเนินงาน (Performance Audit) หน้า 4

สารเคมีเป็นทางเลือกหนึ่งที่เกษตรกรนิยมใช้กันอย่างกว้างขวาง ดังนั้น เกษตรกรจะต้องคำนึงถึงการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้องและปลอดภัย โดยใช้สารเคมีตรงชนิดกับศัตรูพืช ใช้ถูกอัตรา ใช้ถูกระยะเวลา และใช้ให้ถูกวิธี เกษตรกร…ต้องรู้ กลไกการเข้าทำลายสารเคมีกำจัดแมลงศัตรูพืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/474wn71 4 ขั้นตอน การผสมสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธีคลิกอ่าน : https://bit.ly/3t1Wfl6 คู่มือการตรวจวิเคราะห์สารเคมีตกค้างในผลผลิตการเกษตรคลิกอ่าน : https://bit.ly/42rFVJE

การปรับตัวภาคการเกษตรกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และภาวะโลกร้อน (Global Warming) การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นปัญหาสำคัญและส่งผลกระทบไปทั่วโลก มีสาเหตุสำคัญมาจากภาวะโลกร้อน (Global Warming) ซึ่งเกิดจากก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas GHG) ในบรรยากาศที่เพิ่มขึ้นจากกิจกรรมของมนุษย์ ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกเป็นอันดับต้น ๆ โดยเฉพาะภาคการเกษตร

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนมกราคม 2568 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2568 ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร ได้ส่งมอบกล่องยูเอสที ให้กับการทางพิเศษแห่งประเทศไทย ในโครงการกล่องวิเศษ ทางพิเศษรักษ์โลก ปีงบประมาณ 2567

สตรอว์เบอร์รี่

สตรอว์เบอร์รี่

ลักษณะทั่วไปของสตรอว์เบอร์รี่Strawberry: Fragaria ananassa เกิดจากการผสมข้ามระหว่าง F.chiloensis และ F.virginiana อยู่ในวงศ์ Rosaeae มีถิ่นกำเนิดในแถบอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ เป็นพืชเขตหนาว อายุ 3 ปี ประกอบด้วย ลำต้น แตกกอเป็นพุ่มเตี๊ย 6-8 นิ้ว ทรงพุ่มกว้าง 8-12 นิ้ว สูง 6-8 นิ้ว ขึ้นอยู่กับสายพันธุ์และฤดูปลูกส่วนยอดส่วนที่ติดอยู่ระหว่างรากกับใบเรียกว่าเหง้า (crown) ซึ่งเป็นลำต้นสั้น ส่วนบนของลำต้นประกอบด้วยหูใบ (Leaf axil) ส่วนโคนของหูใบจะมีไหล (runner)เจริญออกมา สามารถพัฒนาเป็นต้นอ่อน(daughter plant) ใบ เป็นแบบกลุ่มประกอบด้วย ใบย่อย๓ใบ ขอบใบ มีก้านใบยาว แต่ละต้นจะมีใบมากกกว่า 10 เจริญสลับกันแต่ละใบจะมีชีวิตอยู่นาน 1-3 เดือน ปกติจะมีใบใหม่ทดแทนอยู่ตลอดฤดูกาลผลิต ระบบราก เป็นพืชที่มีระบบรากตื้น เมื่อย้ายปลูกพืชจะสร้างรากที่แข็งแรง (peg root) ซึ่งจะมีอายุประมาณ3-4 อาทิตย์ หลังจากนั้นรากที่เจริญขึ้นมาใหม่อาจเป็นแบบกึ่งถาวร มีอายุนานกว่าหนึ่งฤดูปลูก หรืออาจเป็นรากชั่วคราว (อายุ 1-7 วัน) ซึ่งจะเจริญในระดับความลึก 3-6 นิ้ว หรืออาจเจริญลึก 12 ในดินที่ร่วนซุย เนื่องจากเหง้าจะเจริญสูงขึ้น ดังนั้นรากจะเจริญสูงขึ้นเหนือระดับดินตามอายุพืช ตาดอก เจริญจากตายอด ซึ่งเกิดจากเหง้าที่เจริญขึ้นมาใหม่ เมื่อได้อุณหภูมิต่ำกว่า 15 องศาเซลเซียล ช่วงแสงสั้น (ต่ำกว่า 10 ชั่วโมง/วัน) ชักนำให้เกิดการเจริญของดอก แต่ละต้นมีช่อดอก 4-7 ช่อและแต่ละช่อจะมีดอก 5-10 ดอก ดอกจะมีกลีบเลี้ยง 5 กลีบ และกลีบดอก 5 กลีบ แต่ในดอกขนาดใหญ่อาจจะมีมากกว่านี้ ในอุณหภูมิกลางวัน/กลางคืน สูงกว่า 22.2 องศาเซลเซียล/21.1 องศาเซลเซียล ช่อดอกจะชะงักการเจริญ ผล เป็นแบบผลกลุ่ม (aggregate fruit) มีเมล็ดอยู่ด้านนอกหรือเปลือกของผล ขนาดของผลขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ การดูแลรักษา การให้น้ า เนื่องจากน้ าช่วยในการขยายตัวของเซลล์ การผสมเกสร ขนาดของผลขึ้นอยู่กับจำนวนเมล็ดในผล เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมการเกษตรที่สูง จังหวัดกาญจนบุรี

พืชในท้องถิ่นของหนู

พืชในท้องถิ่นของหนู

พืชในท้องถิ่นของหนู สารบัญ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาฝรั่ง

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาฝรั่ง

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาฝรั่ง การเตรียมการก่อนปลูก การเตรียมดินนำดินผสมกับปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 1:2 ส่วน ให้เข้ากันเป็นอย่างดีแล้วกลบลงหลุมที่เตรียมไว้ ให้มีระดับสูงกว่าเดิม 10 เซนติเมตร การเตรียมพันธุ์

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาเงาะ

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาเงาะ

เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาเงาะ การเตรียมการก่อนปลูกการเตรียมดิน – ไถพรวน ปรับพื้นที่ให้เรียบและขุดร่องระบายน้ำในแปลง การเตรียมพันธุ์ – ต้นพันธุ์ที่นำมาปลูกได้จากการตอนกิ่ง การทาบกิ่ง การติดตา ที่มีความสมบูรณ์แข็งแรง พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีชมพู และสีทอง

สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2

สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2

สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2 แผ่นพับที่ 6/2566 สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2 สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2เป็นสับปะรด ที่พัฒนาขึ้นที่ฮาวาย สหรัฐอเมริกา เพื่อให้ขนส่งทางเรือได้ โดยไม่เป็น “ไส้สีน้ำตาล” สามารถอยู่ในห้องเย็นที่อุณหภูมิ ต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส นานกว่า 10 วัน รสชาติหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อมีสีเหลืองเข้ม เนื้อต้น แน่น ไม่เป็นโพรง น้ำหนักผลโดยเฉลี่ย 1.7-1.8 กิโลกรัม มีวิตามินซีสูงถึง 4 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับสับปะรดพันธุ์อื่น ๆ เรียบเรียง : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 9 จังหวัดสุพรรณบุรี , กองขยายพันธุ์พืช ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์