ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

แนวทางส่งเสริมการหยุดเผา…ทำอย่างไรบ้าง? ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี

ข้าวเมาตอซัง

เตือนภัยการเกษตร “ข้าวเมาตอซัง H2S” สาเหตุ H2S อาการ การป้องกันกำจัด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร

เกษตรจังหวัด ขอเชิญเกษตรกรในพื้นที่อำเภอพนม และใกล้เคียงร่วมงาน Field day อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี ร่วมงาน และส่งผลผลิตประกวดแข่งขันผลผลิตทางการเกษตร (ปาล์มน้ำมัน มะพร้าวน้ำหวาน กล้วยหอมทอง) และส้มตำลีลา“วันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่” Field day’67 Cowboy Phanom 22 ก.พ. 67 ณ บ้านถ้ำผึ้ง

ดินรสจัด…แก้ไขได้

ดินรสจัด…แก้ไขได้ ดินเปรี้ยวจัด แนะนำ ดินจืดจัด แนะนำ ดินเค็มจัด แนะนำ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี

เพลี้ยไฟทุเรียน

เตือนภัยการเกษตร “เพลี้ยไฟทุเรียน” ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร

ตัวอย่างการใส่ FONT ดาวน์โหลดแบบป้ายชื่อสำหรับใช้งาน ด้านหน้า ด้านหลัง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ได้ที่เฟซบุ๊ก ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร คลิก หรือที่หมายเลข 0-2579 5517  

ตัวอย่างป้ายชื่อและสายคล้องคอ ตัวอย่างป้ายชื่อเจ้าหน้าที่ ขนาดกว้าง 5.8 ซม. ยาว 8.5 ซม. ตัวอย่างสายคล้องคอ

1. คำถาม : การใช้รหัสสี ใช้อย่างไร คำตอบ : แนวทางการนำรหัสสีไปใช้กับสิ่งก่อสร้างและสื่ออื่น ๆ กำหนดให้ใช้สีหลัก สีเขียวเข้มและสีเขียวอ่อน รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สีรอง สีส้ม ให้ใช้ไม่เกินร้อยละ 20 2. คำถาม : ตัวอย่างการใช้รหัสสีในกิจกรรมและสื่อประชาสัมพันธ์ คำตอบ : ป้ายชื่อ

โรคและแมลงศัตรูส้ม “โรคสแคป” เกิดจากเชื้อรา Elsinoe fawcettii Bitanc & Jankins

การขับเคลื่อนกระบวนการโรงเรียนเกษตรกร (Farmer Field School : FFS) ในงานส่งเสริมการเกษตร

PLANT Propagation การขยายพันธุ์พืช หมายถึงการเพิ่มปริมาณต้นพืชจากต้นที่มีอยู่ด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้พืชดำรงสายพันธุ์นั้นไว้ไม่ให้สูญพันธุ์ และรักษาลักษณะประจำพันธุ์ให้คงอยู่ จำแนกเป็น

แมลงวันหนอนชอนใบในพืชผัก หนอนชอนไชภายในใบพืช ทำให้เกิดรอยสีขาวคดเคี้ยวไปมา จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แมลงศัตรูมะพร้าว “แมลงดำหนามมะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายตัวหนอนและตัวเต็มวัยกัดกินยอดอ่อน และจะซ่อนตัวอยู่ในใบอ่อนที่พับอยู่ โดยจะเคลื่อนย้ายไปกินยอดอื่นต่อ เมื่อใบของมะพร้าวที่ซ่อนตัวคลี่ออกมา ต้นมะพร้าวที่ถูกทำลายอย่างรุนแรง ใบจะเป็นสีขาวโพลนชัดเจน

แมลงศัตรูมะพร้าว “ไรสี่ขามะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายเข้าทำลายใต้กลีบขั้วผล และใต้กลีบเลี้ยง ทำให้เกิดรอยแผลที่ขั้วผลและลุกลามลงมาที่ผลทำให้แผลตกสะเก็ด เมื่อผลโตขึ้นจะเห็นแผลเป็นร่องลึก เมื่อแกะขั้วผลออกจะเห็นด้านในเป็นสีน้ำตาล หากนำไปส่องดูใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็นไรสี่ขามะพร้าวตัวเล็ก