ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ ปี 2567 Field Day 2024 อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง กำหนดจัดในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์เครือข่าย วิสาหกิจชุมชนฮักน้ำจาง หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านกิ่ว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ภายในงานมีกิจกรรมฐานเรียนรู้ผักและสมุนไพร จำนวน

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips)

เพลี้ยไฟพริก (Chilli Thrips) ในช่วงเข้าฤดูแล้ง เกษตรกรผู้ปลูกพืชผัก เฝ้าระวังการเข้าทำลายของเพลี้ยไฟพริก ในช่วงระยะยอดอ่อน ใบอ่อน และระยะตาดอกอ่อน เพลี้ยไฟ : ที่มีขนาดเล็กสีน้ำตาลอ่อน เพศเมียวางไข่ในเนื้อเยื่อพืชตามเส้นใบ ทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ทำลายพืชโดยดูดกินน้ำเลี้ยงตามใบ ดอก ผล ลักษณะการทำลายของเพลี้ยไฟพริก จะเป็นปากแบบเขี่ยดูด (Rasping-sucking) โดยใช้ปากส่วนที่เป็นแท่ง (Stylet)

น้ำหมักย่อยสลายฟาง

ส่งเสริมไม่เผาด้วย 3R Model น้ำหมักย่อยสลายฟาง วัตถุดิบ วิธีทำ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

เกษตรบางแก้ว ประชาสัมพันธ์การจัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ Field Day ประจำปี 2567 สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ร่วมกับคณะกรรมการ ศพก.อำเภอบางแก้ว ขอเชิญเกษตรกรและผู้สนใจ ร่วมงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ในวันพฤหัสบดี ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2567 เวลา 8.30 น. เป็นต้นไป

สำนักงานเกษตรอำเภออมก๋อย ขอเชิญชวนพี่น้องชาวอำเภออมก๋อย ร่วมเที่ยวชมงานวันเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field day) ในวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) หลัก บ้านยางครก หมู่ที่ 7 ตำบลยางเปียง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานมีกิจกรรมบริการทางการเกษตรหลากหลาย อาทิ ฐานประมง

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รูปร่างลักษณะ ระยะเข้าทำลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ลักษณะการทำลายและการระบาด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 คุณนิวัฒน์ ล้วนใจบุญธรรม ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 13 เล่ม/แผ่น  สำหรับศึกษาการเพาะปลูกใช้ในพื้นที่การเกษตรของตนเอง

จัดการเพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน อย่างไรให้ได้ผล ลักษณะการทำลาย เพลี้ยทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนทุเรียน ทำให้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียงเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย จัดทำ : กลุ่มพัฒนาสื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี

โรคใบติดหรือใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อรา Rhizoctonia solani อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผล คล้ายถูกนํ้าร้อนลวก ต่อมาแผลจะ

ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกรต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาทhttps://www.facebook.com/DoaeChainat ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกรต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

9 ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดตาก https://www.facebook.com/profile.php?id=100064382181725 ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

มาตรการกรอง 4 ชั้น ลดความเสี่ยงหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน จากแปลงเกษตรสู่การส่งออก มาตรการกรองขั้นที่ 1 มาตรการกรองขั้นที่

คำแนะนำสำหรับเกษตรกรผู้เลี้ยง “ตั๊กแตน” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50 วิธีการป้องกันกำจัดในแปลงปลูก “ตั๊กแตน”

การจัดการด้วงงวงเจาะเมล็ดมะม่วง (Mango Seed Weevil) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :  กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50