ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

4 ขั้นตอน การผสมสารเคมี ป้องกันกำจัดศัตรูพืชให้ถูกวิธี จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เตือนภัยเกษตรกร ขณะนี้มีกลุ่มบุคคล แอบอ้างว่า หากไม่กดลิ้งค์เพื่อดาวน์โหลดแอพพลิเคชันยืนยันตัวตน จะไม่ได้รับเงินช่วยเหลือ ไร่ละ 1,000 บาท โดยปลอมแปลงเว็บไซต์ของกรมส่งเสริมการเกษตรขึ้น อย่าหลงเชื่อ ไม่ลงทะเบียนและให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่กลุ่มมิจฉาชีพเด็ดขาด เว็บจริง https://www.doae.go.th/ หากมีข้อสงสัยหรือคำถาม ให้เกษตรกรติดต่อที่สำนักงานเกษตรอำเภอในพื้นที่โดยตรง

เตือนภัยเกษตรกร ขณะนี้มีกลุ่มบุคคล แอบอ้างว่า “มีลิงค์ลงทะเบียนเพื่อรับเงิน ภายใต้โครงการสนับสนุนค่าบริหารจัดการ และพัฒนาคุณภาพผลผลิตเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2566/67” กับไลน์ “กรมส่งเสริมเกษตร” เกษตรกรอย่าหลงเชื่อ “ลงทะเบียนและให้ข้อมูลส่วนบุคคล” แก่กลุ่มมิจฉาชีพโดยเด็ดขาด หากมีข้อสงสัยหรือคำถาม ให้เกษตรกรติดต่อที่สำนักงานเกษตรอำเภอในพื้นที่โดยตรง

เปิดรับสมัครการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ “Handy Sense” (ลงทะเบียนฟรี ไม่มีค่าใช้จ่าย) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนาท

หนอนหัวดำมะพร้าว

แมลงศัตรูมะพร้าว “หนอนหัวดำมะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลาย จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

ตั๊กแตนปาทังก้า

เตือนภัย…ตั๊กแตนปาทังก้า ตั๊กแตนปาทังก้าเป็นศัตรูพืชร้ายแรง จะกัดกินใบและต้นพืช ตั้งแต่เริ่มงอกจนออกดอกและติดผล หากถูกกัดกินจนได้รับความเสียหายจะมีผลกระทบต่อผลผลิต พืชอาหารมีประมาณ 34 ชนิด ได้แก่ข้าวโพด กล้วย ส้ม อ้อย ข้าวฟ่าง ใบมะพร้าว ปาล์มน้ํามัน ข้าว ถั่วเหลือง เป็นต้น ห้ามปล่อยตั๊กแตนคืนสู่ธรรมชาติ ปัจจุบันการเลี้ยงตั๊กแตนปาทังก้าเพื่อการค้ากําลังได้รับความนิยมอย่างมากในหลายพื้นที่ เนื่องจากมีวิธีการเลี้ยงที่ไม่ยุ่งยาก ใช้ระยะเวลาในการเลี้ยงสั้น

แมลงศัตรูมะพร้าว

แมลงศัตรูมะพร้าว แมลงดําหนาม ไรสี่ขา ด้วงงวง ด้วงแรด หนอนหัวดํา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

เตือนเฝ้าระวัง…โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา  สาเหตุ : เกิดจากเชื้อรา Pestalotiopsis sp. หรือ Colletotrichum sp.  ลักษณะอาการ : อาการเริ่มแรกเกิดจุดช้ำบริเวณใต้ใบและด้านบนของใบบริเวรเดียวกันจะเป็นสีเหลืองกลม ต่อมาขยายใหญ่ขึ้นเป็นสีคล้ำ ขอบแผลดำ และกลายเป็นเนื้อเยื่อแห้ง สีน้ำตาลจนถึงขาวซีด รูปร่างจุดแผลค่อนข้างกลม รอบแผลไม่มีสีเหลืองล้อมรอบ จำนวนมากกว่า 1 จุด อาจซ้อนกันเป็นแผลขนาดใหญ่

ขอบใบแห้งในนาข้าว

โรคขอบใบแห้งในนาข้าว สาเหตุ – เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. การแพร่ระบาด – สามารถแพร่ไปกับน้ํา ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูงและมีลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวาง อาการ – เป็นโรคได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ

สบู่ข้าวกล้อง รวบรวมและจัดทำโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่https://www.facebook.com/km.ndoae

โรคแอนแทรคโนสในพริกหรือโรคกุ้งแห้ง จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โรคขอบใบแห้ง จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โรคใบสีส้ม จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

เพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนียในส้มโอ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969