ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

ประเด็น “Q&A ไขข้อสงสัย การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร” ร่วมตอบคำถาม โดย รู้คำตอบพร้อมกันได้วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 13.30 น. https://www.facebook.com/pr.doae/videos/447792071516842

ขึ้นทะเบียนเกษตรกรรักษาสิทธิ์ รับโอกาสและการช่วยเหลือจากภาครัฐ จัดทำโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคกาบใบแห้ง

โรคกาบใบแห้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา : เชื้อราอาศัยอยู่ในฟางข้าวเมล็ดพันธุ์ หรือวัชพืชรอบ ๆ แปลง สภาพที่เหมาะสมต่อการระบาด อาการและการระบาด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ภายในงานมีการออกบูธจากหน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 14 มิถุนายน 2567 ณ โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร อย่าลืม!!!! นำบัตรประชาชนมาด้วยนะคะ….แวะมาชิมช้อปสินค้าจากเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนกันค่ะ… สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหานคร

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน” ฤดูฝนมาเเล้ววว เกษตรกรที่ต้องการเพาะปลูกพืชผักในช่วงนี้ จำเป็นต้องเลือกชนิดผักให้เหมาะสมกับฤดู เช่น กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ถั่วฝักยาว ฟักทอง มะระ บวบ พริก มะเขือฯ และจำเป็นที่จะต้องระวังเรื่องโรคพืชที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน กับ 3 เอกสารแนะนำ ดังนี้

โรคข้าวสำคัญ ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตโรคข้าวสำคัญ เชื้อรา▪️ โรคกล้าเน่า▪️ โรคไหม้▪️ โรคใบจุดสีน้ำตาล▪️ โรคใบขีดสีน้ำตาล▪️ โรคกาบใบแห้ง▪️ โรคกาบใบเน่า▪️ โรคเมล็ดด่าง เชื้อแบคทีเรีย▪️ โรคขอบใบแห้ง▪️ โรคใบขีดโปร่งแสง เชื้อไวรัส▪️ โรคใบสีส้ม▪️ โรคใบหงิก▪️ โรคเขียวเตี้ย▪️ โรคหูด เชื้อไฟโตพลาสมา▪️ โรคใบสีแสด▪️ โรคเหลืองเตี้ย ไส้เดือนฝอย▪️

มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชน หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผู้ผ่านหลักสูตรหมอพืชชุมชนอบรมด้านการวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้น โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจของพื้นที่ คุณลักษณะ1. วินิจฉัยอาการผิดปกติและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้นได้2. เก็บข้อมูลภาพถ่ายและตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยได้ 3. มีจิตสาธารณะ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่และเกษตรกรได้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

การเพาะเลี้ยงแหนแดง

การเพาะเลี้ยงแหนแดง

การเพาะเลี้ยงแหนแดง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100077676002635

17 ธาตุอาหารพืช

ธาตุอาหารพืช

17 ธาตุอาหารพืช เรียงเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก ธาตุอาหารที่ได้ฟรีจากธรรมชาติ มี 3 ธาตุ ได้แก่ 1. C = คาร์บอน = พืชได้รับจากอากาศ องค์ประกอบของพืช ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์แสง2. O = ออกซิเจน = พืชได้รับจากอากาศ และน้ำ ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์แสง3. H = ไฮโดรเจน = พืชได้รับจากน้ำ ช่วยในกระบวนการสังเคราะห์แสง ธาตุอาหารหลัก พืชได้รับธาตุอาหารจากดิน พืชต้องการในปริมาณมาก ส่วนใหญ่ในดินมักขาด 4. N = ไนโตรเจน = พืชใช้ในการเจริญเติบโตทางลำต้น และใบ แหล่งโปรตีน กรดอะมิโน ละลายง่าย สูญเสียง่าย5. P = ฟอสฟอรัส = เป็นแหล่งพลังงานของพืช ละลายยาก ตกตะกอนง่าย จำเป็นในการออกดอก แตกรากดี6. K = โพแทสเซียม = ควบคุมการเปิดปิดปากใบ คลื่อนย้ายสารอาหาร เพิ่มคุณภาพผลผลิต ธาตุอาหารรอง พืชได้รับธาตุอาหารจากดิน พืชต้องการในปริมาณรองลงมา ส่วนใหญ่ในดินมักขาด 7. Ca = แคลเซียม = เป็นส่วนประกอบผนังเซลล์ ขยายผล ผลไม่แตก กิ่งไม่หัก ขั้วไม่หลุด8. Mg = แมกนีเซียม = กระบวนการสังเคราะห์แสง ใบเขียว ทำงานร่วมกับ N9. S = กำมะถัน = กลิ่นดี สีสวย ใส่มากดินเป็นกรด ธาตุอาหารเสริม พืชได้