การขออนุญาตขนย้ายต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง

การขออนุญาตขนย้ายต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์ มันสำปะหลัง เจ้าหน้าที่เก็บสำเนาใบอนุญาตทั้ง 2 ส่วน และดำเนินการต่อ เอกสารเพิ่มเติม : https://www.opsmoac.go.th/kanchanaburi-news-files-432791791112 ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร
ทำนาแบบตัดตอซัง

ทำนาแบบตัดตอซัง ลดต้นทุน ลดเวลาปลูก ผลผลิตเยี่ยม ข้อมูลโดย : คุณอนันต์ ปรางค์โท้ เกษตรตำบลเทพนคร วิธีการตัดตอซัง 1.หลังจากเกี่ยวข้าวแล้ว ให้รีบตัดตอซังภายใน 7 วัน โดยตัดตอข้าวให้สูงเพียง 5-10 ซม. และตีกระจายฟางข้าวให้ทั่ว 2.ปล่อยน้ำเข้าแปลง โดยพิจารณา ดังนี้ 3.การใส่ปุ๋ย ให้ใส่ครั้งแรก เมื่อข้าวแตกกอได้ 15-21 วัน และใส่ครั้งที่ 2 เเมื่อข้าวอายุ 30-45 วัน 4.หมั่นสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันปัญหาโรคและแมลงศัตรูพืช รวมไปถึงวัชพืช 5.เมื่อต้นข้าวอายุ 80-90 วัน ให้ปล่อยน้ำออกจากแปลง เพื่อคุมความชื้นในแปลง ปลูกข้าวแบบตัดตอซัง ลดต้นทุน ข้อควรระวัง เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร
ประโยชน์ของนาดำ

การปลูกข้าวแบบนาดำ หมายถึง การทำนาที่มีการนำเมล็ดข้าวไปเพาะในแปลงที่เตรียมไว้ก่อน เรียกว่า การเพาะกล้า เมื่อได้ขนาดตามที่ต้องการ จะถอนต้นกล้าไปปักดำในพื้นที่นาที่เตรียมไว้ แต่ข้อเสียวิธีนี้ ต้องใช้แรงงานมาก ประโยชน์ของนาดำ ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว
การทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม ตามแนวทางการส่งเสริมเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ

นายประสิทธิ์ รูปเอี่ยม เกษตรกรต้นแบบเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นเกษตรกรที่สามารถปรับตัวและปรับแนวทางการทำเกษตรให้อยู่ร่วมกับชุมชนเมืองได้ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว (ทำนา) มาเป็นการทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกที่มีการผสมผสานกัน ทั้งการทำนาและทำสวนได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีการจัดการผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่แน่นอน ก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี และสามารถพัฒนาเป็นฟาร์มเกษตรอัจฉริยะได้ในอนาคต การจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรระบบไร่นาสวนผสม การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การจัดการดินและน้ำ การจัดการผลผลิตและการตลาด การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
การพัฒนาการปลูกข้าวโดยใช้รถดำนาอัตโนมัติ

การพัฒนาการปลูกข้าวโดยใช้รถดำนาอัตโนมัติของศพก.หลัก อำเภอเมืองนครนายก สิ่งสำคัญ คือ คนขับรถและคนใส่กล้าต้องมีประสบการณ์และความชำนาญในการใช้รถดำนาและการประสานงานให้เข้าใจข้าวที่ปลูกจึงจะมีคุณภาพ (กล้าจะตรง รถจับกล้าไม่หลุดปลูกเป็นแถวเป็นแนวตามระยะห่าง) ข้อดี จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ใดสนใจ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Youtube ด้านล่าง