ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

นายประสิทธิ์ รูปเอี่ยม เกษตรกรต้นแบบเกษตรเขตเมืองอัจฉริยะ อำเภอเมืองปทุมธานี เป็นเกษตรกรที่สามารถปรับตัวและปรับแนวทางการทำเกษตรให้อยู่ร่วมกับชุมชนเมืองได้ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากการทำการเกษตรเชิงเดี่ยว (ทำนา) มาเป็นการทำเกษตรระบบไร่นาสวนผสม มีการใช้พื้นที่เพาะปลูกที่มีการผสมผสานกัน ทั้งการทำนาและทำสวนได้อย่างคุ้มค่าและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต มีการจัดการผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีตลาดรองรับผลผลิตทางการเกษตรที่แน่นอน ก่อให้เกิดรายได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี และสามารถพัฒนาเป็นฟาร์มเกษตรอัจฉริยะได้ในอนาคต การจัดสรรพื้นที่ทำการเกษตรระบบไร่นาสวนผสม การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม การจัดการดินและน้ำ การจัดการผลผลิตและการตลาด การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช จัดทำโดย :

พบตามโคก ใกล้จอมปลวก หากระบาดมาก พบได้ทั่วทั้งแปลงที่ดินแห้ง ถ้าเจอในนา กัดบริเวณโคนต้น หรือรากข้าว แสดงว่าน้ำในนาแห้ง วิธีป้องกันกำจัด1. เขตกรรม ไขน้ำเข้านา (กรณีมีน้ำเพียงพอ)2. วิธีกล เก็บทำลาย3. ชีววิธี โรยด้วยเชื้อราเมตาไรเซียม4. สารเคมีชนิดหว่านลงดิน (G,GR) – กลุ่ม 2 ฟิโพรนิล

ขอเชิญร่วมงานวันขยายผลการขับเคลื่อน “โรงเรียนเกษตรกรต้นแบบ ปี 2566” Farmer Field School Day  ”โรงเรียนเกษตรกร” คือ การเรียนรู้ที่พี่ๆเกษตรกรได้ร่วมกันคิด แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ร่วมกันแก้ไขปัญหา และตัดสินใจในกระบวนการผลิตได้ด้วยตนเองทุกขั้นตอน  กิจกรรมภายในงาน ประกอบด้วย ฐานเรียนรู้ฐานที่ 1 แมลงศัตรูพืชและแมลงศัตรูธรรมชาติฐานที่ 2 การขยายชีวภัณฑ์ฐานที่ 3

ปุ๋ยอินทรีย์

ปุ๋ยอินทรีย์ หมายถึง ปุ๋ยที่ได้หรือทำมาจากวัสดุอินทรีย์ และถูกย่อยสลายสมบูรณ์ด้วยจุลินทรีย์ ประโยชน์ ประเภทของปุ๋ยอินทรีย์ เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

แผ่นพับ 1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง ไฟล์สำหรับพิมพ์ จัดทำโดย : ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมส่งเสริมการเกษตร

ปุ๋ยเคมี

ปุ๋ยเคมี หมายถึง : ปุ๋ยที่ได้จากสารอนินทรีย์หรืออินทรีย์สังเคราะห์ ประโยชน์ : ให้ธาตุอาหารพืชในปริมาณมาก พืชนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างรวดเร็ว เพื่อการเจริญเติบโตให้ดอกออกผล “ปุ๋ยเคมี เป็นธาตุอาหารพืช ไม่ใช่สารพิษ” ประเภทของปุ๋ยเคมี จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

การพัฒนาการปลูกข้าวโดยใช้รถดำนาอัตโนมัติของศพก.หลัก อำเภอเมืองนครนายก สิ่งสำคัญ คือ คนขับรถและคนใส่กล้าต้องมีประสบการณ์และความชำนาญในการใช้รถดำนาและการประสานงานให้เข้าใจข้าวที่ปลูกจึงจะมีคุณภาพ (กล้าจะตรง รถจับกล้าไม่หลุดปลูกเป็นแถวเป็นแนวตามระยะห่าง) ข้อดี จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองนครนายก จังหวัดนครนายก ผู้ใดสนใจ สามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Youtube ด้านล่าง

รู้หรือไม่!? การเลือกพืชพันธุ์ที่ดีมาเพาะปลูก นอกจากจะได้พืชตรงตามสายพันธุ์เเล้ว ยังได้ผลผลิตสูง ต้นพืชมีความทนทานสามารถปรับตัวได้ดีอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวของการขยายพันธุ์พืช และแหล่งพืชพันธุ์ดี กับ 4 เอกสารแนะนำดังนี้ค่ะ การขยายพันธุ์พืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/30pw7Pj การทาบกิ่งคลิกอ่าน : https://bit.ly/3Yws17r พืชพันธุ์ดี ดีอย่างไร ซื้อที่ไหนได้ของดีคลิกอ่าน : https://bit.ly/3z5ommj แนะนำแหล่งพืชพันธุ์ดีคลิกอ่าน

ขอเชิญเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร สำนักงานเกษตรอำเภอลาดหลุมแก้ว ขอเชิญชวนทุกท่านที่สนใจธรรมชาติ รักสิ่งแวดล้อม หลีกหนีความวุ่นวาย พบกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรรูปแบบใหม่ ใกล้กรุงเทพมหานคร สามารถเข้าถึงได้ทุกช่วงวัย ปิ่นฟ้าฟาร์มปทุมธานี-ลาดหลุมแก้ว ฟาร์มเห็ดป้านา ทุ่งนามอญ เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนสิงหาคม 2567 จัดทำโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

7เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝน

7เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝน

7 เทคนิคการปลูกและดูแลรักษาพืชผักในฤดูฝน 2. การเตรียมเมล็ดพันธุ์ ควรใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้ เพื่อป้องกันเชื้อราที่ติดมากับเมล็ด 5. การกำจัดวัชพืช ในฤดูฝนวัชพืชจะเจริญเติบโตได้ดีและเป็นที่อาศัยของโรคแมลงศัตรูพืช ควรหมั่นกำจัดวัชพืช 6. การรดน้ำแปลงผัก การรดแปลงผักด้วยน้ำปูนใส ช่วยให้กล้าผักมีความแข็งแรง แและเพิ่มอัตรารอดตายจากโรคพืชที่เข้าทำลายได้ 7. การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา วิธีการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในการป้องกันกำจัดโรคพืชอย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี

การป้องกันสวนไม้ผลให้ได้รับผลกระทบจากวาตภัยน้อยที่สุด

การป้องกันสวนไม้ผลให้ได้รับผลกระทบจากวาตภัยน้อยที่สุด

การดูแลรักษาและเทคโนโลยีที่เหมาะสมหากเกิดภัยธรรมชาติในสวนไม้ผล เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

6 คำแนะนำสำหรับเกษตรกรชาวสวนไม้ผล เผชิญเหตุปัญหาภัยแล้งและความร้อน

6 คำแนะนำสำหรับเกษตรกรชาวสวนไม้ผล เผชิญเหตุปัญหาภัยแล้งและความร้อน

6 คำแนะนำสำหรับเกษตรกรชาวสวนไม้ผล เผชิญเหตุปัญหาภัยแล้งและความร้อน เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

6 ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

6 ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

6 ทางเลือกในการปรับตัวของเกษตรกร ต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ทางเลือกที่ 1 ปรับเปลี่ยนเทคนิคหรือวิถีการผลิต ทางเลือกที่ 2 ปรับปรุงและพัฒนาแหล่งน้ำและระบบส่งจ่ายน้ำ ทางเลือกที่ 3 บริหารจัดการที่ดินอย่างเหมาะสม ทางเลือกที่ 4 ปรับปรุงและอนุรักษ์ดิน ทางเลือกที่ 5 อนุรักษ์ป่าไม้และสภาพแวดล้อม ทางเลือกที่ 6 ประกันภัยพืชผล ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ที่มา : วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 314 เดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2567

การดูแลรักษาพืชผักในช่วงแล้ง

การดูแลรักษาพืชผักในช่วงแล้ง

การดูแลรักษาพืชผักในช่วงแล้ง 1. รักษาความชื้นในดิน 2. การจัดหาแหล่งน้ำให้เพียงพอ 3. พรางแสงด้วยสแลน 4. ระวังป้องกันศัตรูพืชในฤดูแล้ง เช่น ด้วงหมัดผัก หรือด้วงหมัดกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เรียบเรียงโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันะ์ กรมส่งเสริมการเกษตร