ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

หนอนชอนใบมังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acrocercops sp. และ Phyllocnistis sp. ลักษณะการทำลายAcrocercops sp. ทำลายใบอ่อนที่มีอายุมาก โดยตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชกัดกินและขับถ่าย อยู่ในระหว่างผิวใบ รอยทำลายมีลักษณะแผ่กว้างเป็นแผ่นสีดำ เนื่องจากเนื้อเยื่อระหว่างผิวใบตรงส่วนนั้นถูกทำลาย Phyllocnistis sp. ทำลายใบอ่อนมังคุดที่มีอายุน้อย พบการระบาดรุนแรงมากในช่วงที่มังคุดแตกใบอ่อน ตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชเป็นทางยาว หรือสร้างเป็นอุโมงค์กัดกินและขับถ่ายอยู่ภายในรอยทำลายของหนอนชอนใบ ใบมังคุดที่ถูกทำลายจะแสดงลักษณะแคระแกร็นบิดเบี้ยว

ด้วงดิน (ground beetles) อยู่ในวงศ์ Carabidae ทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัยอาศัยอยู่ตามพื้นดิน ตัวเต็มวัยบางชนิดสามารถไต่ขึ้นบนต้นพืช เพื่อไปกัดกินศัตรูพืชได้ โดยเกือบทั้งหมดเป็นแมลงตัวห้ำทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัยทำลายหนอน ดักแด้ผีเสื้อศัตรูพืช ไข่แมลง มักหากินตอนกลางคืน ตัวอ่อนด้วงดินตัวนี้เจอบ่อยในแปลงข้าวโพดที่มีหนอนกระทู้ข้าวโพดนะบาด ถ้าเจออย่าตกใจ เค้าช่วยกินหนอนให้เรานะคะ ภาพจาก : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี

เป็นโรคพืชที่พบการระบาดมากในช่วงอากาศเย็น ความชื้นสูง และฝนตกชุก เนื่องจากเชื้อราสาเหตุโรคสามารถแพร่ระบาดได้ดีโดย ลม น้ำฝน เครื่องมือทางการเกษตร การเคลื่อนย้ายพืชปลูก และจะเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ความชื้นในแปลงสูง หากเข้าทำลายพืชปลูกจะสร้างความเสียหายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต จะทำให้ผลผลิตพืชลดลง รวมถึงขนาดและคุณภาพลดลง หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น นอกจากนี้โรคราน้ำค้างยังสามารถเข้าทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง พืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด และข้าวโพด เป็นต้น ส่วนข้อสังเกตของโรคราน้ำค้าง พบว่าในช่วงเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำเอกสารใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 865 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

ข้าว ให้สำรวจอย่างน้อย 10 จุด สำรวจทั่วแปลงในนาหว่าน 10 ต้น ต่อจุดสำรวจ ในนาดำ 1 กอ ต่อจุดสำรวจ (นับทุกต้นใน 1 กอ) 1.เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลพื้นที่ระบาด = พบเฉลี่ยมากกว่า 10 ตัวต่อจุดพื้นที่เฝ้าระวัง = พบเฉลี่ย

วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน 2567 รายการศูนย์ขยายกระจายข่าว โดยศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 4 จังหวัดนครศรีธรรมราช พูดคุยหัวข้อ “การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพื่อลดต้นทุน และเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร” https://www.facebook.com/radiothungsongfm97/videos/538759919135860

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดนครราชสีมา ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 4,630 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

พืชใช้น้ำน้อย หมายถึง พืชที่ใช้น้ำน้อยกว่าข้าว เช่น พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ การปลูกพืชใช้น้ำน้อย เป็นทางเลือกในการเพาะปลูกพืชฤดูแล้ง ทดแทนการทำนาปรัง เพื่อเกิดการบริหารจัดการพื้นที่และสร้างรายได้ให้กับเกษตรกร ชวนเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันกับ 2 เนื้อหาแนะนำดังนี้ค่ะ การปลูกพืชใช้น้ำน้อยคลิกอ่าน : https://bit.ly/3UOKzNe โรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตรพืชสู้แล้งเงินล้านเข้าชม : https://bit.ly/3US4gno

คลังความรู้กรมส่งเสริมการเกษตร

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

องค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

โรคใบจุดและเน่าเละ สาเหตุจากเชื้อรา : Cercospora lactucae-sativae ลักษณะการทำลายทำลายผลผลิตผักสลัดทุกระยะการเจริญเติบโต โดยเฉพาะผักที่มีใบกว้าง เช่น

โรคไหม้ข้าว ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะออกรวง การป้องกันกำจัด เรียบเรียง : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

เรื่องกล้วย ๆ เรื่องฮิตช่วงนี้ที่ใคร ๆ ก็ถามไถ่เข้ามา อยากปลูกต้องทำอย่างไร เลือกพันธุ์ไหนดี วันนี้ชวนอ่านกับ

ชวนอ่านเรื่องราวของ “แมลงศัตรูข้าว” ตัวการสำคัญที่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ควรเฝ้าระวังการระบาดในช่วงนี้ หมั่นสำรวจแปลงนาเพื่อควบคุมและป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรงนะคะ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลคลิกอ่าน : https://bit.ly/3ZkHDLo

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว ปัจจัยการระบาด วิธีการปลูกข้าว : นาหว่านจะมีการระบาดมากกว่านาดำ เพราะมีต้นข้าวหนาแน่นกว่า อุณหภูมิความชื้นเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเพลี้ย

เฝ้าระวัง! เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว ลักษณะการทำลายตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เข้าทำลายต้นข้าวได้ทุกระยะ ตั้งแต่ข้าวเริ่มแตกกอ แตกกอเต็มที่ และระยะออกรวง ทำลายข้าวโดยการดูดกินน้ำเลี้ยงจากเซลล์ท่อน้ำท่ออาหาร