วันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น เผยแพร่สื่อวิดีทัศน์ภายในองค์กร เรื่อง ตรวจสอบพัสดุประจำปีอย่างไรให้ถูกต้อง
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
วันที่ 25 พฤศจิกายน 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น เผยแพร่สื่อวิดีทัศน์ภายในองค์กร เรื่อง ตรวจสอบพัสดุประจำปีอย่างไรให้ถูกต้อง
เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (ข้าวโพด) หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดสำรวจ 10 จุดทั่วแปลง จุดละ 10 ต้น เพื่อประเมินพื้นที่ถูกทำลาย ข้าวโพด อายุ 1-21 วันไม่ระบาด = พบต้นถูกหนอนทำลาย น้อยกว่า 10%รุนแรงน้อย = พบต้นถูกหนอนทำลาย 11-30%รุนแรงมาก = พบต้นถูกหนอนทำลาย
เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว) 1.หนอนหัวดำมะพร้าวสุ่มนับทางใบที่เขียวสมบูรณ์ แยกระดับความรุนแรงน้อย = ใบเขียวสมบูรณ์ 13 ทางใบขึ้นไปปานกลาง = ใบเขียวสมบูรณ์ 6-13 ทางใบรุนแรง = ใบเขียวสมบูรณ์ น้อยกว่า 6 ทางใบ 2.แมลงดำหนามมะพร้าวสุ่มนับใบยอดที่ถูกทำลาย แยกตามระดับความรุนแรงน้อย = ใบยอดถูกทำลาย 1-5
เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง) 1.โรคใบด่างมันสำปะหลัง กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง กระจายทั่วแปลง ให้ถือว่าพื้นที่ระบาดเท่ากับพื้นที่ปลูก กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง เป็นหย่อมหรือบริเวณมุมใดมุมหนึ่งของแปลงให้แบ่งขอบเขตแปลงในบริเวณที่เป็นโรค ในรัศมี 20 เมตร จากจุดที่เป็นโรค แล้วจึงคิดเป็นสัดส่วนเทียบกับพื้นที่ปลูก 2.เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังให้สำรวจอย่างน้อย 10 จุดสำรวจ จุดละ 1
มวนยุงในฝรั่ง เชื้อสาเหตุ : Helopeltis theivora มวนยุง หรือ มวนยุงชา หรือ มวนโกโก้ อยู่ในวงศ์ Miridae อันดับ Hemiptera เป็นแมลงศัตรู สำคัญของพืชหลายชนิด เช่น ชา โกโก้ อะโวกาโด้ มะม่วงหิมพานต์ เป็นแมลงชนิดปากดูด
โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อสาเหตุ : Phytophthora palmivora ลักษณะการทำลาย อาการที่กิ่งและที่ลำต้นหรือโคนต้นระยะแรกจะแสดงอาการใบเหลืองเป็นบางกิ่ง สังเกตเห็นคล้ายคราบน้ำบนผิวเปลือกของกิ่งหรือต้น ในช่วงเช้าที่มีอากาศชื้นอาจเห็นเป็นหยดของเหลวสีน้ำตาลแดงออกมาจากบริเวณแผล และจะค่อย ๆ แห้งไปในช่วงที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบ เมื่อใช้มีดถากบริเวณคราบนั้น จะพบเนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล ถ้าแผลขยายใหญ่ลุกลามจนรอบโคนต้น จะทำให้ทุเรียนใบร่วงจนหมดต้น และยืนต้นแห้งตาย อาการที่รากเริ่มแรกจะเห็นใบที่ปลายกิ่งมีสีซีด ไม่เป็นมันเงา เหี่ยวลู่ลง เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น
หนอนชอนใบมังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acrocercops sp. และ Phyllocnistis sp. ลักษณะการทำลายAcrocercops sp. ทำลายใบอ่อนที่มีอายุมาก โดยตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชกัดกินและขับถ่าย อยู่ในระหว่างผิวใบ รอยทำลายมีลักษณะแผ่กว้างเป็นแผ่นสีดำ เนื่องจากเนื้อเยื่อระหว่างผิวใบตรงส่วนนั้นถูกทำลาย Phyllocnistis sp. ทำลายใบอ่อนมังคุดที่มีอายุน้อย พบการระบาดรุนแรงมากในช่วงที่มังคุดแตกใบอ่อน ตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชเป็นทางยาว หรือสร้างเป็นอุโมงค์กัดกินและขับถ่ายอยู่ภายในรอยทำลายของหนอนชอนใบ ใบมังคุดที่ถูกทำลายจะแสดงลักษณะแคระแกร็นบิดเบี้ยว
ด้วงดิน (ground beetles) อยู่ในวงศ์ Carabidae ทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัยอาศัยอยู่ตามพื้นดิน ตัวเต็มวัยบางชนิดสามารถไต่ขึ้นบนต้นพืช เพื่อไปกัดกินศัตรูพืชได้ โดยเกือบทั้งหมดเป็นแมลงตัวห้ำทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัยทำลายหนอน ดักแด้ผีเสื้อศัตรูพืช ไข่แมลง มักหากินตอนกลางคืน ตัวอ่อนด้วงดินตัวนี้เจอบ่อยในแปลงข้าวโพดที่มีหนอนกระทู้ข้าวโพดนะบาด ถ้าเจออย่าตกใจ เค้าช่วยกินหนอนให้เรานะคะ ภาพจาก : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี
เป็นโรคพืชที่พบการระบาดมากในช่วงอากาศเย็น ความชื้นสูง และฝนตกชุก เนื่องจากเชื้อราสาเหตุโรคสามารถแพร่ระบาดได้ดีโดย ลม น้ำฝน เครื่องมือทางการเกษตร การเคลื่อนย้ายพืชปลูก และจะเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ความชื้นในแปลงสูง หากเข้าทำลายพืชปลูกจะสร้างความเสียหายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต จะทำให้ผลผลิตพืชลดลง รวมถึงขนาดและคุณภาพลดลง หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น นอกจากนี้โรคราน้ำค้างยังสามารถเข้าทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง พืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด และข้าวโพด เป็นต้น ส่วนข้อสังเกตของโรคราน้ำค้าง พบว่าในช่วงเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง
ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว
เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว
เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนกันยายน 2567
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบคลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"
เข้าชม เกษตรมาแล้วชวนอ่านเรื่องราวของ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) กำลังสำคัญที่อยู่เคียงข้างนักส่งเสริมการเกษตรตลอดมา อกม. คือใคร? อกม. ทำอะไรบ้าง?
ชวนทุกคนมาฟังเรื่องราวของโครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง “1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง” ตั้งแต่ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย
โรคใบจุดสาหร่ายปาล์มน้ำมัน เชื้อสาเหตุ Phycopeltis sp. ลักษณะอาการเป็นจุดเล็ก ๆ หรือเป็นแผ่นขนาดใหญ่ (ลุกลาม)
โรคลำต้นเน่าในปาล์มน้ำมัน ลักษณะอาการและการระบาดโรคลำต้นเน่าในปาล์มน้ำมัน เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรากาโนเดอร์มา (Ganoderma bonibense) เชื้อราชนิดนี้กระจายอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะ มาเลเซีย
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เฝ้าระวังการระบาดของหนอนหน้าแมว สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศแปรปรวน โดยอากาศจะเริ่มอุ่นขึ้นและมีฝนฟ้าคะนองในหลายพื้นที่ แต่ยังคงจะมีอากาศเย็นในตอนเช้า มีอากาศร้อนอบอ้าวทั่วไปและมีอากาศรร้อนจัดหลายพื้นที่ เตือนผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในทุกระยะการเจริญเติบโตรับมือหนอนหน้าแมว หนอนหน้าแมว
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวในพื้นที่จังหวัดชลบุรี เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกินใบมะพร้าว หนอนกินใบมะพร้าว หรือหนอนบุ้งเล็ก เป็นผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก ตัวเต็มวัยกินน้ำหวานจากช่อดอกมะพร้าวเป็นอาหาร และสามารถบินอพยพได้ระยะสั้นระหว่างสวนมะพร้าว ระยะทางประมาณ