ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

ผลกระทบจากภัยแล้งในทุเรียน สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน มีฝนตกบางพื้นที่ เตือนเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนในทุกระยะการเจริญเติบโต เตรียมรับมือผลกระทบจากภัยแล้ง เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่

ไรแดงมันสำปะหลัง ลักษณะการทำลายไรแดง เป็นศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง ที่มักพบการระบาดในฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วง โดยไรแดงจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ ทำให้สูญเสียคลอโรฟิลล์ หากระบาดรุนแรงจะเคลื่อนย้ายไปบนยอดอ่อน สร้างเส้นใยปกคลุมใบและลำต้น ทำให้ผิวใบด้านบนเป็นจุดด่างประ สีเหลืองซีด ยอดไหม้ ใบเหี่ยวแห้ง และร่วง หากพ่นสารป้องกันกำจัดไรได้ทัน จะสามารถยับยั้งการระบาดได้ เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่

แมลงหวี่ขาวยาสูบ ลักษณะการทำลายแมลงหวี่ขาวสามารถเข้าทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช โดยทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะอาศัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ และยอดอ่อนของพืช การทำลายของตัวอ่อน ทำให้เกิดเป็นจุดสีเหลืองบนใบพืช ใบหงิกงอขอบใบม้วนลงด้านล่าง ต้นแคระแกร็น และเหี่ยว หากพบทำลายในปริมาณมากอาจทำให้พืชตายได้ นอกจากนี้ยังเป็นแมลงพาหะนำเชื้อไวรัส สาเหตุโรคใบด่างในพืชต่าง ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้ผลผลิตลดลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่

เพลี้ยไฟ

เพลี้ยไฟ ในพืชตระกูลส้ม (มะนาว มะกรูด ส้มโอ และส้มเขียวหวาน) สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศร้อน แห้งแล้ง เตือนผู้ปลูกพืชตระกูลส้ม (เช่น มะนาว มะกรูด ส้มโอ และส้มเขียวหวาน) ในระยะติดผลอ่อน – ระยะพัฒนาผล ตัวอ่อน และตัวเต็มวัยใช้ปากเขี่ยและดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนและผลอ่อน ทำให้ใบมีลักษณะผิดปกติ ใบแคบเรียว กร้าน

แนะนำนิตยสารใหม่ เดือนพฤษภาคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

เกษตรกาญจน์….กำหนดวันเก็บเกี่ยวทุเรียนจังหวัดกาญจนบุรี ปี 2567 โดยได้กำหนดค่าเฉลี่ยของเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งในเนื้อทุเรียนแต่ละสายพันธุ์ไว้ ดังนี้ อ้างอิงตามมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง ทุเรียน (มกษ. 3-2556)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 315 (มีนาคม – เมษายน 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEทำความรู้จัก กับ Individual Development Plan : IDP

แนะนำหนังสือใหม่ เดือนพฤษภาคม 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

เปิดรับสมัครผู้สนใจอบรม“ โครงการพัฒนาและยกระดับการผลิตสินค้าเกษตรแบบครบวงจร ” ท่านใดสนใจสามารถติดต่อ สำนักงานเกษตรอำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด

หนอนกอข้าว

หนอนกอข้าว ต้นข้าวที่ถูกหนอนกอเข้าทำลาย จะพบตัวหนอนอยู่ภายในและดึงต้นข้าวหลุดออกมาได้ง่าย เพราะหนอนกัดกินส่วนของลำต้นอยู่ภายใน ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา ซึ่งการทำลายในระยะข้าวแตกกอ เรียกอาการนี้ว่า “ยอดเหี่ยว” (deadheart) หนอนกอข้าวสามารถเข้าทำลายตั้งแต่ข้าวเล็กถึงออกรวง เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

คำแนะนำการป้องกันกำจัด “เพลี้ยจักจั่นมะม่วง” ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช

คำแนะนำการป้องกันกำจัด โรคใบร่วงชนิดใหม่ของยางพารา ลักษณะอาการ : อาการเริ่มแรกเกิดจุดช้ำบริเวณใต้ใบและด้านบนของใบบริเวณเดียวกันจะเป็นสีเหลืองกลม ต่อมาขยายใหญ่ขึ้นเป็นสีคล้ำขอบแผลดำ และกลายเป็นเนื้อเยื่อแห้ง สีน้ำตาลจนถึงขีดขาวซีด

เฝ้าระวัง แมลงศัตรูถั่วเหลือง สภาพอากาศในช่วงนี้มีอากาศเย็นตอนเช้า และตอนกลางคืน กลางวันมีอากาศร้อน เกษตรกรควรระมัดระวัง หนอนกระทู้ผัก ในระยะเจริญเติบโตทางลำต้น

หนอนกอข้าว หนอนกอข้าวที่พบทําลายข้าวในประเทศไทย มี 4 ชนิด ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน1.หนอนกอสีครีม Scirpophaga incertulas

โรคใบจุดสาหร่ายในเงาะ ลักษณะอาการ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่

โรคเหี่ยวเขียวในพริก เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพริก รับมือโรคเหี่ยวเขียว (เชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum) ต้นพริกแสดงอาการเหี่ยวในเวลากลางวันที่อากาศร้อนจัด และฟื้นกลับมาปกติในเวลากลาง