วันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรพื้นที่ 2 ลาดกระบัง ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 105 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
วันที่ 14 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรพื้นที่ 2 ลาดกระบัง ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 105 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่
โรคราน้ำค้างในข้าวโพด เกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi ลักษณะอาการ : จะพบจุดขนาดเล็กสีเขียวฉ่ำน้ำ โดยเฉพาะใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอดอาการที่เห็นได้ชัดจะพบอาการใบด่างหรือใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับเขียวแก่จะพบส่วนของเชื้อราเป็นผงสีขาวบริเวณใต้ใบ อาการอื่น จะพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นเตี้ยแคระแกร็น ข้อถี่ ไม่ติดฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อย/ไม่ติดเมล็ด (ข้าวโพดฟันหลอ) ก้านฝักมีความยาวมาก หรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ **ข้าวโพดอายุ 1- 3 สัปดาห์
ทำนาแบบตัดตอซัง ลดต้นทุน ลดเวลาปลูก ผลผลิตเยี่ยม ข้อมูลโดย : คุณอนันต์ ปรางค์โท้ เกษตรตำบลเทพนคร วิธีการตัดตอซัง 1.หลังจากเกี่ยวข้าวแล้ว ให้รีบตัดตอซังภายใน 7 วัน โดยตัดตอข้าวให้สูงเพียง 5-10 ซม. และตีกระจายฟางข้าวให้ทั่ว 2.ปล่อยน้ำเข้าแปลง โดยพิจารณา ดังนี้ 3.การใส่ปุ๋ย
นาบัว บัวฉัตรบงกช สร้างรายได้ ฤดูปลูกบัว : ตลอดทั้งปี การเลือกดินปลูก : เป็นพื้นที่ราบสม่ำเสมอ ดินเป็นดินเหนียวและมีความอุดมสมบูรณ์ การดำและระยะปลูก : หลังเตรียมดินและนำน้ำเข้าแปลง 3-5 วัน เมื่อดินอ่อนตัวจึงปักดำไหลบัว ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ 2×2 เมตร (ในพื้นที่ 1
วันที่ 12 พฤศจิกายน 2567 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และวิศวกรรมเกษตร ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 770 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดงาน ” วันพระบิดาแห่งฝนหลวง ” เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา องค์ราชา สืบสาน รักษา ต่อยอด พระบิดาแห่งฝนหลวง
ปุ๋ยไนโตรเจน ทำไมมีหลายสูตรจัง? รูปแบบของไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์กับพืชและดูดใช้งานได้ ประกอบด้วย ปุ๋ยไนโตรเจนที่มักพบในท้องตลาด การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนลงในดินต้องปฏิบัติอย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะการเลือกชนิดของปุ๋ยไนโตรเจน ปริมาณที่ใช้ จำนวนครั้งในการแบ่งใช้ ตลอดจนช่วงเวลาที่เหมาะสมในการใช้ ทั้งนี้ควรคำนึงถึงชนิดของพืช อายุของพืช และชนิดของดินด้วย การใช้ในปริมาณที่มากเกินความต้องการของพืชอาจส่งผลให้เป็นพิษต่อพืช และเป็นการสิ้นเปลือง เพิ่มต้นทุนการผลิต เนื่องจากเกินความสามารถของพืช ในการกักเก็บของดินและการดูดใช้ของพืช จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร
“มะนาว” พืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ปลูกง่ายขายคล่อง อยากรู้ว่ามะนาวพันธุ์ไหนต้องปลูกและดูแลรักษาอย่างไร แนะนำอ่าน 3 เอกสารแนะนำดังนี้ค่ะ มะนาวแป้นพิจิตร 1คลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/มะนาวแป้นพิจิตร-1/ มะนาวแป้นไต้หวันคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/มะนาวแป้นไต้หวัน/ มะนาวตาฮิติคลิกอ่าน : https://esc.doae.go.th/มะนาวตาฮิติ/
เพลี้ยไฟฝ้าย ในพืชตระกูลแตง ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบแตงโมและพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีนและบวบ ปัญหาที่ควรระวังเพลี้ยไฟฝ้าย ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้ทุกระยะการเจริญเติบโต ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อนในระยะแตงโมทอดยอด ทำให้ชะงักการเจริญเติบโตลักษณะอาการที่เกิดจากเพลี้ยไฟฝ้ายเรียกว่า “ยอดตั้ง” หากเพลี้ยไฟฝ้ายระบาดในช่วงอายุ 1
วันที่ 11 พฤศจิกายน 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 2 ชิ้น นายพีรพันธ์ คอทอง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เป็นประธานในพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทานของกรมส่งเสริมการเกษตร ประจำปี 2567 ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ์ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานให้กรมส่งเสริมการเกษตร นำไปทอดถวายยังที่ชุมนุมสงฆ์ ณ วัดอุดมธานี (พระอารามหลวง)
โรคราน้ำค้างในข้าวโพด ระยะการเจริญเติบโตของพืชในช่วงนี้เริ่มปลูก-อายุ ประมาณ 30 วัน (เป็นระยะที่อ่อนแอต่อโรคนี้มาก) ปัญหาที่ควรระวังโรคราน้ำค้าง : เชื้อรา Peronosclerospora sorghi ข้อสังเกตลักษณะ/อาการที่อาจพบ แนวทางป้องกัน/แก้ไข 1.ควรใช้พันธุ์ต้านทาน และคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น 2.ในแหล่งที่เคยมีการระบาดของโรค หากพบว่ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคคืออุณหภูมิต่ำและความชื้นสูง เมื่อข้าวโพด อายุ 5-7 วัน
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ “1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง”
รับสมัครเกษตรกรอบรมส่งเสริมการปลูกและพัฒนากาแฟโรบัสต้า
จักจั่นในอ้อยและการป้องกันกำจัด
เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ “1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง”
รับสมัครเกษตรกรอบรมส่งเสริมการปลูกและพัฒนากาแฟโรบัสต้า
จักจั่นในอ้อยและการป้องกันกำจัด
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบคลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"
เข้าชม เกษตรมาแล้วคำแนะนำในการป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่าง เชื้อสาเหตุ : เกิดจากเชื้อราได้หลายชนิด ได้แก่ Curvularia lunata, Cercospora
รู้หรือไม่!? การเลือกพืชพันธุ์ที่ดีมาเพาะปลูก นอกจากจะได้พืชตรงตามสายพันธุ์เเล้ว ยังได้ผลผลิตสูง ต้นพืชมีความทนทานสามารถปรับตัวได้ดีอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวของการขยายพันธุ์พืช และแหล่งพืชพันธุ์ดี กับ
โรคผลเน่าทุเรียน (Fruit Rot) อาการ บริเวณปลายผล หรือก้นผลมักพบจุดช้ำสีน้ำตาลปนเทา ต่อมาขยายเป็นวงกลมหรือค่อนข้างรี ไปตามรูปร่างผลแผลดังกล่าวอาจพบได้ตั้งแต่ผลคงอยู่บนต้น
ไรสี่ขามะพร้าว (Coconut mite) หากเกษตรกรพบว่าผลมะพร้าวมีอาการเป็นแผลแห้งสีน้ำตาลเป็นทางยาว ปลายแผลเป็นมุมแหลม โดยเฉพาะบริเวณขั้วผลอ่อน โดยเมื่อสังเกตแล้วไม่พบตัวไร เนื่องจากไรสี่ขาเป็นไรที่มีขนาดเล็ก
โรคใบขีดสีน้ำตาลข้าว (Narrow Brown Spot Disease) เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา
หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) หนอนกออ้อย ทำลายอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะอ้อยแตกกอทั้งอ้อยปลูกใหม่และอ้อยตอ ระบาดรุนแรงในสภาพที่อุณหภูมิสูง ความชื้นต่ำ