ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

รับสมัครเกษตรกรที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผลให้มีคุณภาพดี (ทุเรียน) การบริหารจัดการทุเรียนตลอดกระบวนการผลิตและการตลาด **สมัครได้ตั้งแต่บัดนี้ – วันที่ 9 พฤษภาคม 2567 (จำนวนจำกัด 15 คน) ณ สำนักงานเกษตรอำเภอสวนผึ้ง (อาคารสีเขียวติดกับที่ว่าการอำเภอสวนผึ้ง) สอบถามเพิ่มเติม โทร : 032-395015

เรียนฟรี สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่อการเกษตร เปิดกิจกรรมโรงเรียนเกษตรทางไกล หลักสูตร “ต่อยอดรายได้เกษตรกรด้วยคาร์บอนเครดิต” ให้กับเกษตรกรและประชาชนที่สนใจสมัครเรียน โดยเป็นการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง คาร์บอนเครดิต ที่ถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และเหมาะสม สมัครเรียนได้ ตั้งแต่วันนี้ – 17 พฤษภาคม 2567 เรียนผ่านช่องทาง ลงทะเบียนเรียน ได้ที่

แตนเบียนบราคอน

แตนเบียนบราคอน เป็นแตนเบียนท้องถิ่น พบได้ในธรรมชาติ ทำลายศัตรูพืชระยะหนอน มีขนาดเล็กประมาณ 1.3-2.7 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำตาลปนเหลือง น้ำตาลปนดำ หรือดำ เพศเมีย มีอวัยวะวางไข่โดยจะวางไข่บนหนอนของผีเสื้อ ก่อนวางไข่ แตนเบียนบราคอนจะปล่อยสารชนิดหนึ่งทำให้หนอนเป็นอัมพาตแล้วจึงวางไข่บนตัวหนอน เมื่อไข่ฟักออกมาเป็นตัวหนอนจะดูดน้ำเลี้ยงบนตัวหนอนผีเสื้อจนตัวหนอนตาย เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี หนอนผีเสื้อข้าวสารที่ใช้ในการเบียน แตนเบียนบราคอนนั่นใช้วัยที่ 5

การทำปุ๋ยหมักไม่กลับกอง ขั้นตอนการทำ1. ถ้าใช้เศษวัสดุทางการเกษตรจะมีอัตราส่วนที่ต่างกัน ได้แก่ ฟางข้าว 4 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนผักตบชวา/กล้วย 6 ส่วน : ขี้วัว 1 ส่วนใบไผ่/หญ้า 1 ส่วน : ใบไม้ 4

ทุเรียนขาดน้ำ

ข่าวเตือน ระวัง!! ทุเรียนขาดน้ำ ในฤดูร้อนที่มีสภาพอากาศร้อนจัดในตอนกลางวัน และไม่มีฝน อาจส่งผลกระทบต่อทุเรียนขาดน้ำ ทั้งที่ยังไม่ให้ผลผลิต และให้ผลผลิตแล้ว อาการที่พบ คือ ใบทุเรียน แสดงอาการเหี่ยว ขอบใบจะมีสีเหลืองและไหม้จากปลายเข้ามาในที่สุดใบก็จะร่วง ซึ่งหากไม่มีการให้น้ำ ต้นทุเรียนจะตายทั้งกิ่งหรือยืนต้นตาย การป้องกัน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุราษฎร์ธานี

ข่าวเตือน ระวัง!! หนอนปลอกเล็กในปาล์มน้ำมันและมะพร้าว ลักษณะการทำลาย : หนอนปลอกเล็กจะแทะผิวใบ ทำให้ใบแห้งเป็นสีน้ำตาล และกัดทะลุใบเป็นรูขาดแหว่ง ถ้าเข้าทำลายรุนแรงจะเห็นทางใบทั้งต้นเป็นสีน้ำตาลแห้ง ต้นชะงัก การเจริญเติบโตผลผลิตลดลง หรือไม่ได้ผลผลิต เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุราษฎร์ธานี 

หนอนเจาะฝักข้าวโพด Corn Earwor หนอนเจาะฝักข้าวโพดหรือหนอนเจาะสมอฝ้าย เป็นศัตรูที่ทำให้ข้าวโพดเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน : ลำตัวของตัวหนอน จะมีขนขึ้นประปราย ลายพาดยาวบริเวณลำตัวซึ่งเห็นได้ชัดเจน มีสีเหลือง สีเขียวอ่อน ไปจนถึงสีค่อนข้างดำ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม อายุ และการลอกคราบ ในระยะตัวหนอนมักจะอยู่รวมกัน แต่เมื่อโตขึ้นจะไม่อยู่ใกล้กันเพราะจะกัดกินกันเอง โดยหนอนจะเข้าดักแด้ในตอนกลางคืน เมื่อเข้าดักแด้ใหม่จะมีเขียวลำตัวนิ่มแล้วค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลือง/น้ำตาล

คุณกำลังเผชิญกับความเครียด(moon furious) หมดไฟ(fire) หรือรู้สึกท้อแท้(moon streaming tears) กับงานหรือชีวิตบ้างไหม? มาเติมพลังใจให้ตัวเองกันเถอะ!(heart with arrow) ** พบกับกิจกรรมอบรมออนไลน์ฟรี! “สุขภาพจิต สุขภาพใจ วัยทำงาน”** จากสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่ ️ วันพุธ ที่ 5

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

ผีเสื้อมวนหวาน ศัตรูสำคัญของลองกองและส้ม จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรเกาตรอำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย https://www.facebook.com/profile.php?id=100065526247976

ศัตรูตัวร้ายในนาข้าว “บั่ว” ลักษณะการเข้าทำลาย เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

โรคไหม้ข้าว จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลกhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

การวินิจฉัยโรคราแป้งในเงาะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

เพลี้ยจักจั่นมะม่วง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

กำจัดให้สิ้นเสี้ยนดิน จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391