ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล วายร้ายประจำนาข้าว ปัจจัยการระบาด วิธีการปลูกข้าว : นาหว่านจะมีการระบาดมากกว่านาดำ เพราะมีต้นข้าวหนาแน่นกว่า อุณหภูมิความชื้นเหมาะต่อการเจริญเติบโตของเพลี้ย การใช้ปุ๋ย : หากใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก ใบข้าวจะเขียวหนาแน่น อวบน้ำ เหมาะแก่การเข้าดูดกินและขยายพันธุ์ของเพลี้ย การควบคุมน้ำในนาข้าว : นาที่มีน้ำขังในนาตลอด จะมีการเพิ่มของเพลี้ยได้มากกว่านาที่มีการระบายน้ำในนาออกเป็นครั้งคราว การใช้สารฆ่าแมลง : หากใช้ในระยะเพลี้ยตัวเต็มวัยหรือช่วงที่อพยพเข้าในนาข้าวใหม่ ๆ

ข้อพึงระวังในการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การเดินทางไปราชการและการฝึกอบรม เป็นส่วนสำคัญของการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เนื่องจากเป็นส่วนหนึ่งในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่การเบิกค่าใช้จ่ายเหล่านี้ จำเป็นต้องมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อกำหนดอย่างเคร่งครัด เพื่อให้การเบิกจ่ายเป็นไปอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และโปร่งใส

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 317 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEข้อพึงระวังในการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม หน้า 5 เกษตรต่างแดน“กว่างโจว” จุดยุทธศาสตร์กระจายสินค้าเกษตรสู่แดนมังกร หน้า 8

เฝ้าระวัง! เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลในนาข้าว ลักษณะการทำลายตัวอ่อนและตัวเต็มวัย เข้าทำลายต้นข้าวได้ทุกระยะ ตั้งแต่ข้าวเริ่มแตกกอ แตกกอเต็มที่ และระยะออกรวง ทำลายข้าวโดยการดูดกินน้ำเลี้ยงจากเซลล์ท่อน้ำท่ออาหาร บริเวณโคนต้นข้าวระดับเหนือผิวน้ำ ทำให้ต้นข้าวมีอาการใบเหลืองแห้งลักษณะคล้ายถูกน้ำร้อนลวกแห้งตายเป็นหย่อม ๆ เรียกว่า “อาการไหม้” (hopperburn) เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

สับปะรดรับประทานผลสด พันธุ์ MD2เป็นสับปะรด ที่พัฒนาขึ้นที่ฮาวาย สหรัฐอเมริกา เพื่อให้ขนส่งทางเรือได้ โดยไม่เป็น “ไส้สีน้ำตาล” สามารถอยู่ในห้องเย็นที่อุณหภูมิ ต่ำกว่า 25 องศาเซลเซียส นานกว่า 10 วัน รสชาติหวาน มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว เนื้อมีสีเหลืองเข้ม เนื้อต้น แน่น ไม่เป็นโพรง น้ำหนักผลโดยเฉลี่ย

โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบทุกภาคในประเทศไทย ในข้าวนาสวน ทั้งนาปีและนาปรัง และข้าวไร่ ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้อาการ ระยะแตกกอ

แผ่นพับที่ 6/2567 การทำนาแห้ว ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดสุพรรณบุรี แห้วที่ปลูกในปัจจุบันคือ “แห้วพันธุ์จีน” มีลำต้นคล้ายต้นหอมหรือใบกก ลักษณะปลูกคล้ายข้าว แห้วจีนเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยคาดการณ์ว่าอยู่ในสาธารณรัฐประชาชนจีน และมีการนำไปปลูกยังเขตร้อนต่าง ๆ หลายประเทศ ซึ่งแหล่งปลูกแห้วจีนที่ใหญ่ที่สุดคือจังหวัดสุพรรณบุรี และถือเป็นพืชเศรษฐกิจท้องถิ่นที่สำคัญ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียง : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

หนอนกอข้าว ลักษณะการทำลายหนอนกอ เข้าทำลายข้าวลักษณะเดียวกันโดยหลังหนอนฟักไข่จะเจาะเข้าทำลายกาบใบก่อน ทำให้กาบใบมีสีเหลืองหรือสีน้ำตาล ซึ่งจะเห็นเป็นอาการช้ำ ๆ เมื่อฉีกกาบใบจะพบตัวหนอน เมื่อหนอนโตขึ้นจะเข้ากัดกินส่วนของลำต้น ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา ซึ่งทำให้เกิดอาการ “ยอดเหี่ยว” (deadheart) ถ้าหนอนเข้าทำลายในระยะข้าวตั้งท้อง หรือหลังจากข้าวออกรวงจะทำให้เมล็ดข้าวลีบทั้งรวง รวงข้าวมีสีขาว เรียกอาการนี้ว่า “ข้าวหัวหงอก” (whitehead) แนวทางการป้องกัน/กำจัด เรียบเรียง :

หนอนห่อใบข้าว รูปร่างลักษณะหนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนโตเต็มที่จะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัส หนอนมีระยะการเจริญเติบโต 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัย ที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสัน้ำตาลเหลืองมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ

โรคไหม้ข้าว/โรคไหม้คอรวง ปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรค แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียง : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี

คลังความรู้กรมส่งเสริมการเกษตร

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

องค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนเกษตรกรรับมือภัยแล้ง เพราะหน้าแล้งของประเทศไทย มีอุณหภูมิที่สูงขึ้นจากปีก่อน และมีระยะเวลาทอดยาวขึ้น เกษตรกรจึงจำเป็นต้องมีการปรับตัวรับมือกับภัยแล้ง รวมถึงเรียนรู้แนวทางการดูแลพืชผลทางการเกษตรให้อยู่รอดปลอดภัย เล่าแบบรวบรัด

แตนเบียนบราคอน เป็นแตนเบียนท้องถิ่น พบได้ในธรรมชาติ ทำลายศัตรูพืชระยะหนอน มีขนาดเล็กประมาณ 1.3-2.7 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำตาลปนเหลือง

ข่าวเตือน ระวัง!! ทุเรียนขาดน้ำ ในฤดูร้อนที่มีสภาพอากาศร้อนจัดในตอนกลางวัน และไม่มีฝน อาจส่งผลกระทบต่อทุเรียนขาดน้ำ ทั้งที่ยังไม่ให้ผลผลิต และให้ผลผลิตแล้ว

ข่าวเตือน ระวัง!! หนอนปลอกเล็กในปาล์มน้ำมันและมะพร้าว ลักษณะการทำลาย : หนอนปลอกเล็กจะแทะผิวใบ ทำให้ใบแห้งเป็นสีน้ำตาล และกัดทะลุใบเป็นรูขาดแหว่ง

หนอนเจาะฝักข้าวโพด Corn Earwor หนอนเจาะฝักข้าวโพดหรือหนอนเจาะสมอฝ้าย เป็นศัตรูที่ทำให้ข้าวโพดเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน : ลำตัวของตัวหนอน

เตือนเฝ้าระวัง ! หนอนกออ้อย (Sugarcane Borer) เนื่องจากสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในช่วงนี้มีอุณหภูมิสูง และฝนทิ้งช่วง เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อย