งานนำเสนอเรื่องการปลูกพืชผัก ภายใต้ “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร เรียบเรียงโดย : กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
งานนำเสนอเรื่องการปลูกพืชผัก ภายใต้ “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร เรียบเรียงโดย : กองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.
ผู้รับบริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร เมื่อวันที่ 6 กันยายน 2567
วันที่ 4 กันยายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดสิงห์บุรี ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 1,500 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่
แผ่นพับที่ 5/2567 แป้งเท้ายายม่อม ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดชลบุรี “เท้ายายม่อม” พืชพื้นเมืองประเภทแป้งชนิดหนึ่ง เป็นทรัพยากรทางธรรมชาติด้านพืชพรรณที่บ่งบอกถึงความอุดมสมบูรณ์และความหลากหลายของพืชท้องถิ่นในประเทศไทย พบมากบริเวณภาคตะวันออกและภาคใต้ ส่วนในภาคกลางและภาคตะวันออก จะพบขึ้นกระจายในธรรมชาติบริเวณป่าผลัดใบต่าง ๆ ป่าดิบแล้งที่เป็นดินทราย และบริเวณที่มีร่มเงาของต้นไม้ใหญ่ โดยในพื้นที่ภาคตะวันออกพบได้ตั้งแต่ป่าละเมาะ หาดทราย ไปจนถึงบนเขาหินปูนที่ไม่สูงมากนัก เท้ายายม่อมจัดเป็นพืชล้มลุกฤดูเดียวโดยธรรมชาติ มีระยะเวลาการเจริญเติบโตอย่างน้อย 3 ปี ขึ้นไปจากเมล็ดเป็นพืชที่มีหัวสะสมแป้ง
ประกาศรายชื่อผู้สมัครเข้าร่วมการฝึกอบรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” เพื่อเข้าร่วมอบรมในวันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ ห้องประชุม 7 ชั้น 5 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตร รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบเช้า (8.30 – 12.00 น.) รายชื่อผู้เข้าร่วมรอบบ่าย (13.00
การฟื้นฟูแปลงและปลูกพืชผัก ดินเปียก น้ำขัง การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา เพื่อเตรียมเพาะกล้าเตรียมส่วนผสม (คลุกเคล้าให้เข้ากัน) เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่
การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลดและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาในนาข้าว การฟื้นฟูนาข้าวหลังน้ำลด การเกิดน้ำท่วมในพื้นที่นาข้าว อาจเกิดได้ 2 กรณี คือ จากฝนตกหนักน้ำป่าไหลหลาก เกิดน้ำท่วมฉับพลับ หรือเกิดจากน้ำท่วมขังเป็นระยะเวลานาน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวเสียหาย โดยขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของข้าว ความลึกของน้ำ และระยะเวลาการท่วมขัง การจัดการนาข้าว การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ใช้ควบคุมโรคที่มีสาเหตุเกิดจากเชื้อราสำหรับนาข้าว มีอัตราการใช้ดังนี้ เรียบเรียง : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6
ชวนอ่านเรื่องราวของ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) กำลังสำคัญที่อยู่เคียงข้างนักส่งเสริมการเกษตรตลอดมา อกม. คือใคร? อกม. ทำอะไรบ้าง? เป็น อกม. แล้วได้อะไร? วันนี้มาหาคำตอบพร้อม ๆ กันในโพสต์นี้เลยค่ะ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.)คลิกอ่าน : https://bit.ly/3Up0TCF คู่มืออาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.)คลิกอ่าน : https://bit.ly/3MnV05R
ชวนทุกคนมาฟังเรื่องราวของโครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง “1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง” ตั้งแต่ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย แนวทางการขับเคลื่อน รวมถึงบทบาทของกรมส่งเสริมการเกษตรต่อโครงการนี้ ใน 3 เอกสารแนะนำดังนี้ 1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูงคลิกอ่าน : https://bit.ly/3Z2VXIe โครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง “1 ท้องถิ่น 1
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร 2143/1 ถนน พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 0 2579 5517 e Mail : agritech.esc.doae@gmail.com
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
การอบรมอาชีพด้านแมลงเศรษฐกิจตามอัธยาศัย หลักสูตร “จิ้งหรีด กับแกล้มก็ดี มีรายได้เสริม สำหรับมือใหม่”
แนะนำหนังสือใหม่ เดือนมิถุนายน 2567
ร่วมรับชมและเป็นส่วนหนึ่งในผู้ติดตามของ TikTok เกษตรมาแล้ว
ตัวอย่างแบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร (สำหรับครัวเรือนเกษตรกร)
การอบรมอาชีพด้านแมลงเศรษฐกิจตามอัธยาศัย หลักสูตร “จิ้งหรีด กับแกล้มก็ดี มีรายได้เสริม สำหรับมือใหม่”
แนะนำหนังสือใหม่ เดือนมิถุนายน 2567
ร่วมรับชมและเป็นส่วนหนึ่งในผู้ติดตามของ TikTok เกษตรมาแล้ว
ตัวอย่างแบบคำร้องทะเบียนเกษตรกร (สำหรับครัวเรือนเกษตรกร)
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบคลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"
เข้าชม เกษตรมาแล้วเพลี้ยไฟ (Thrips) ในทุเรียน เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดสุราษฎร์ธานี
ระวังเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายข้าวโดยดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณโคนต้นข้าวเหนือผิวน้ำ ต้นข้าวที่ถูกทำลายจะมีใบเหลืองแห้งตายเป็นหย่อม เรียก “อาการไหม้” พบช่วงแตกกอถึงออกรวง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เป็นพาหะนำเชื้อไวรัส
การผลิตเมล็ดพันธุ์คะน้า ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของคะน้า ลักษณะดิน พันธุ์ที่นิยมปลูก เรียบเรียงโดย : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่หก จังหวัดพิษณุโลก
เพลี้ยแป้งในส้มโอ เพลี้ยแป้งในส้มโอ ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช
โรคไหม้ข้าว สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Pyricularia oryzae. ระยะกล้า ระยะแตกกอ ระยะออกรวง ดาวน์โหลดไฟล์
เตือนภัยการเกษตร “ข้าวเมาตอซัง H2S” สาเหตุ H2S อาการ การป้องกันกำจัด ดาวน์โหลดไฟล์