ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

“3R Model : 3 เปลี่ยน” โมเดลที่จะชวนเกษตรกรไทย หยุดเผาในพื้นที่เกษตรอย่างยั่งยืน ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เปลี่ยนชนิดพืช และเปลี่ยนเป็นพืชทางเลือก อ่านเรื่องราวแบบละเอียด รวมถึงวิธีการที่จะนำมาซึ่งการหยุดเผา การลดต้นทุน และการเพิ่มรายได้ ใน 4 เอกสารแนะนำดังนี้ 1. แนวทาง 3R Model :

ฮอร์โมนไข่ ทำง่าย ต้นทุนต่ำ ช่วยเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต ส่วนผสม วิธีทำ วิธีใช้ใช้อัตรา 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร สามารถใช้ได้ 80 ไร่ จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

หนอนปลอกข้าว ตัวเต็มวัยตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกสีขาวมีแถบสีน้ำตาลอ่อนถึงดำ 2-3 แถบตามขอบปีก ลักษณะและการระบาด การป้องกันและกำจัด 1. ระบายน้ำออกจากแปลงนา เพื่อทำลายตัวหนอน และระงับการแพร่ระบาดในนาข้าว เพราะหนอนจะระบาดโดยปลอกลอยไปตามน้ำ ถ้าเอาน้ำออก หนอนก็จะระบาดไม่ได้ 2. ใช้สารฆ่าแมลง เมื่อตรวจพบใบถูกทำลายมากกว่า 15% หรือพบใบห่อ 6-8 ใบ ต่อ

ระวัง! หนอนห่อใบข้าว ลักษณะการทำลาย เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

เตือน! การแจ้งข้อมูลทะเบียนเกษตรกรเป็นเท็จ มีความผิดตามกฎหมายอาญา มาตรา 137 ต้องโทษจำคุก ไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 267 ต้องโทษจำคุก ไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท

เมื่อเกษตรกรทำการเพาะปลูก จำเป็นที่จะต้องเผชิญกับปัญหาศัตรูพืช ทั้งโรค และแมลง การใช้ชีวภัณฑ์ในการควบคุมศัตรูพืชจึงเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยให้เกษตรกร มีผลผลิตที่มีคุณภาพ และช่วยลดการใช้สารเคมีในแปลงเกษตรได้อีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้1. เชื้อราเมตาไรเซียม แอนนิโซพลิอีคลิกอ่าน : https://bit.ly/3RZOh5k 2. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ (ชีวภัณฑ์) ในการควบคุมศัตรูพืชคลิกอ่าน : https://bit.ly/3kkeiKL 3. มาตรฐานชีวภัณฑ์ (ผลิตภัณฑ์ชีววิธี)

การควบคุมภายใน (Internal Control) เครื่องมือสำคัญในการกำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ความหมายของการควบคุมภายใน การควบคุมภายใน (Internal Control) หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล หัวหน้าหน่วยงาน ฝ่ายบริหารและบุคลากรของหน่วยงานจัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าการดำเนินงานของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงานและด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับ แนวคิดของการควบคุมภายใน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. ที่มา : วารสารส่งเสริมการเกษตรปีที่

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 57 ฉบับที่ 316 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2567) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 Smart DOAEการควบคุมภายใน (Internal Control) เครื่องมือสำคัญในการกำกับดูแลการดำเนินงานของหน่วยงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ หน้า 4 เกษตรต่างแดนคงคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยเพิ่มศักยภาพสินค้าเกษตรไทยในตลาดส่งออกสาธารณรัฐประชาชนจีน

คลังความรู้กรมส่งเสริมการเกษตร

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

องค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

แหนแดง ประโยชน์ปุ๋ยพืชสด ผสมดินปลูก ผสมอาหารสัตว์ ผสมอาหารเลี้ยง เป็ด/ไก่ ผสมอาหารเลี้ยงปลานิล จัดทำโดย

โรคมะม่วงที่ควรระวังช่วงฤดูหนาว โรคราแป้ง โรคช่อดอกดำ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

การเปลี่ยนยอดอะโวคาโด “การเปลี่ยนยอดอะโวคาโด” เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะได้สายพันธุ์ที่ตรงกับความต้องการของตลาด ทำให้ได้ต้นอะโวคาโดสายพันธุ์ดี มีวิธีการอย่างไร เชิญรับชมได้จากคลิปวิดิโอกันได้เลยค่ะ จัดทำโดย :

เตือน! เกษตรกรผู้ปลูกหอม ระวังหนอนกระทู้หอม ในหอมแดงและหอมหัวใหญ่ สภาพอากาศในช่วงนี้อากาศเย็น อุณหภูมิลดลง และมีหมอกในตอนเช้า เตือนผู้ปลูกหอมแดง

แมลงศัตรูมะพร้าว “แมลงดำหนามมะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายตัวหนอนและตัวเต็มวัยกัดกินยอดอ่อน และจะซ่อนตัวอยู่ในใบอ่อนที่พับอยู่ โดยจะเคลื่อนย้ายไปกินยอดอื่นต่อ เมื่อใบของมะพร้าวที่ซ่อนตัวคลี่ออกมา ต้นมะพร้าวที่ถูกทำลายอย่างรุนแรง ใบจะเป็นสีขาวโพลนชัดเจน

แมลงศัตรูมะพร้าว “ไรสี่ขามะพร้าว” ลักษณะการเข้าทำลายเข้าทำลายใต้กลีบขั้วผล และใต้กลีบเลี้ยง ทำให้เกิดรอยแผลที่ขั้วผลและลุกลามลงมาที่ผลทำให้แผลตกสะเก็ด เมื่อผลโตขึ้นจะเห็นแผลเป็นร่องลึก เมื่อแกะขั้วผลออกจะเห็นด้านในเป็นสีน้ำตาล หากนำไปส่องดูใต้กล้องจุลทรรศน์จะเห็นไรสี่ขามะพร้าวตัวเล็ก