ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

หนอนกระทู้หอม กัดกินต้นมันสำปะหลัง คำแนะนำ :1.เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลง ให้เก็บและนำมาทำลาย พร้อมกำจัดวัชพืชในแปลงและรอบแปลง2.ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเลือกสารชนิดใดชนิดหนึ่ง ผสมน้ำ 20 ลิตร เช่นㆍ คลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC อัตรา 20 มิลลิลิตรㆍ เดลทาเมทริน 3% EC อัตรา 30

ข่าวประชาสัมพันธ์การขอรับบริการชีวภัณฑ์ สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง ให้บริการชีวภัณฑ์แก่เกษตรกรที่ทำการเกษตร ซึ่งมีความต้องการใช้ชีวภัณฑ์เป็นจำนวนมาก หรือเป็นตัวอย่างในการนำไปทดลองใช้ สามารถติดต่อขอรับหัวเชื้อเพื่อนำไปผลิตขยายเองได้ที่กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง

คำแนะนำการป้องกันกำจัด หนอนกระทู้…ในมันสำปะหลัง หนอนกระทู้ เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจหลายชนิด พบหนอนเเข้าทำลายทั้งในพืชผัก พืชไร่ ไม้ผล และไม้ดอก เนื่องจากสภาพอากาศช่วงนี้มีฝนตกและมีฝนตกหนักบางพื้นที่ เตือนเกษตรกรเฝ้าระวังหนอนกระทู้ทำลายพืชได้ ตั้งแต่วัยแรก โดยจะกัดกินใบพืช ก้านใบและต้นอ่อน เนื่องจากหนอนมีขนาดใหญ่และกัดกินใบอย่างรวดเร็ว จึงทำความเสียหายอย่างรุนแรง หากไม่ป้องกันกำจัดอาจไม่สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ คำแนะนำการป้องกันกำจัด สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ศูนย์บริการเกษตรพิรุณราช ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ (ตามที่ตั้งแปลง) เรียบเรียงโดย

เตือน “หนอนกระทู้” ระบาดในมันสำปะหลัง แนวทางการป้องกันกำจัด1. เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลงให้เก็บ และนำมาทำลายพร้อมกำจัดวัชพืชที่อยู่ในแปลง และบริเวณรอบแปลง2. ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช หากการระบาดของหนอนลดลงให้ควบคุมด้วยชีวภัณฑ์โดยฉีดพ่นเชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ทูริงเยนซิส (Bt) อัตรา 80 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 20 ลิตร หลังจากฉีดพ่นสารเคมีแล้ว 15 วัน เรียบเรียงโดย

TikTok เกษตรมาแล้ว เชิญชวนเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร ใช้แผ่นเสียง จากคลิป “เชิญชวนเกษตรกรเเจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร”ในการโพสต์ TikTok ของตนเอง ใช้งานง่าย เพิ่มยอดการเข้าถึง อีกทั้งยังช่วยสร้างการรับรู้เกี่ยวกับการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรให้ขยายเป็นวงกว้างมากขึ้น รับชมคลิป คลิก >> https://www.tiktok.com/@kasetserve/video/7375018032810183943?_t=8n8KxPDBTUu&_r=1

แนะนำนิตยสารใหม่ เดือนมิถุนายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) หรือที่ : http://library.doae.go.th โทรศัพท์ 0-2579-2594โทรสาร 0-2579-5517

เกษตรนครนายก ขอเชิญร่วมงานโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ กิจกรรมภายในงาน สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมสำนักงานเกษตรจังหวัดนครนายก 0 3731 1289 ต่อ 15สำนักงานเกษตรอำเภอองครักษ์ 0 3739 1295

ประเด็น “Q&A ไขข้อสงสัย การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร” ร่วมตอบคำถาม โดย รู้คำตอบพร้อมกันได้วันที่ 10 มิถุนายน 2567 เวลา 13.30 น. https://www.facebook.com/pr.doae/videos/447792071516842

ขึ้นทะเบียนเกษตรกรรักษาสิทธิ์ รับโอกาสและการช่วยเหลือจากภาครัฐ จัดทำโดย : กลุ่มเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมส่งเสริมการเกษตร

โรคกาบใบแห้ง

โรคกาบใบแห้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา : เชื้อราอาศัยอยู่ในฟางข้าวเมล็ดพันธุ์ หรือวัชพืชรอบ ๆ แปลง สภาพที่เหมาะสมต่อการระบาด อาการและการระบาด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง สาเหตุ : เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ การแพร่ระบาด การป้องกัน ดาวน์โหลดไฟล์

ข้าวนาปี ร้อน-แล้ง ฝนทิ้งช่วง ระวังเพลี้ยไฟ..ระยะกล้าข้าว รูปร่าง ลักษณะการทำลาย

หนอนชอนใบส้ม หนอนชอนใบส้ม ทำลายระยะส้มโอผลอ่อนและแตกใบอ่อน หนอนกัดกินเนื้อเยื่อภายใต้ผิวของใบอ่อนและยอดอ่อนของส้ม เป็นฝ้าสีขาวคดเคี้ยวไปมาบนใบตามทางที่หนอนเดิน ทำให้ใบหงิกงอ แห้ง ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้