ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

โรคกาบใบแห้ง

โรคกาบใบแห้ง สาเหตุเกิดจากเชื้อรา : เชื้อราอาศัยอยู่ในฟางข้าวเมล็ดพันธุ์ หรือวัชพืชรอบ ๆ แปลง สภาพที่เหมาะสมต่อการระบาด อาการและการระบาด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร

ขอเชิญร่วมงานคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร ภายในงานมีการออกบูธจากหน่วยงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วันที่ 14 มิถุนายน 2567 ณ โรงเรียนวัดจันทร์ประดิษฐาราม แขวงบางด้วน เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร อย่าลืม!!!! นำบัตรประชาชนมาด้วยนะคะ….แวะมาชิมช้อปสินค้าจากเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนกันค่ะ… สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหานคร

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักเรื่องราวของ “เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน” ฤดูฝนมาเเล้ววว เกษตรกรที่ต้องการเพาะปลูกพืชผักในช่วงนี้ จำเป็นต้องเลือกชนิดผักให้เหมาะสมกับฤดู เช่น กวางตุ้ง ผักบุ้งจีน ถั่วฝักยาว ฟักทอง มะระ บวบ พริก มะเขือฯ และจำเป็นที่จะต้องระวังเรื่องโรคพืชที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนอีกด้วย ชวนอ่านเรื่องราวเกี่ยวกับ เทคนิคการดูแลพืชผักช่วงฤดูฝน กับ 3 เอกสารแนะนำ ดังนี้

โรคข้าวสำคัญ ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตโรคข้าวสำคัญ เชื้อรา▪️ โรคกล้าเน่า▪️ โรคไหม้▪️ โรคใบจุดสีน้ำตาล▪️ โรคใบขีดสีน้ำตาล▪️ โรคกาบใบแห้ง▪️ โรคกาบใบเน่า▪️ โรคเมล็ดด่าง เชื้อแบคทีเรีย▪️ โรคขอบใบแห้ง▪️ โรคใบขีดโปร่งแสง เชื้อไวรัส▪️ โรคใบสีส้ม▪️ โรคใบหงิก▪️ โรคเขียวเตี้ย▪️ โรคหูด เชื้อไฟโตพลาสมา▪️ โรคใบสีแสด▪️ โรคเหลืองเตี้ย ไส้เดือนฝอย▪️

มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชน หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผู้ผ่านหลักสูตรหมอพืชชุมชนอบรมด้านการวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้น โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจของพื้นที่ คุณลักษณะ1. วินิจฉัยอาการผิดปกติและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้นได้2. เก็บข้อมูลภาพถ่ายและตัวอย่างเพื่อการวินิจฉัยได้ 3. มีจิตสาธารณะ ประสานงานกับเจ้าหน้าที่และเกษตรกรได้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

มารู้จัก “หมอพืช”

หมอพืช คือ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ผู้มีความรู้และความสามารถในการวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืชเบื้องต้น และให้คำแนะนำการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมกับสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ให้กับเกษตรกร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย 

คลินิกพืช

“คลินิกพืช” ให้บริการตรวจวินิจฉัย และแก้ไขปัญหาอาการผิดปกติของพืชได้อย่างตรงจุด คลินิกพืช (Plant Clinic) คือ การให้บริการตรวจวินิจฉัยอาการผิดปกติของพืช รวมถึงให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการศัตรูพืช ที่เกษตรกรสามารถนำไปปฏิบัติได้ โดยยึดหลักการจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสานที่ถูกต้องและเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ หากเกษตรกรพบปัญหาอาการผิดปกติของพืช สามารถขอรับคำปรึกษาหรือคำแนะนำได้จากคลินิกพืชของกรมส่งเสริมการเกษตร ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัดในพื้นที่ และศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย 

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

ไรแดงมันสำปะหลัง ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

หนอนหัวดำ วงจรชีวิต ไข่ – วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่มีสีเหลืองอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หนอน

เฝ้าระวังจักจั่นอ้อย ในเขตพื้นที่อ้อยชลประทาน เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท

เฝ้าระวังด้วงแรดมะพร้าว ลักษณะการเข้าทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

เพลี้ยอ่อนในพริก ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและยอดการทำลายของเพลี้ยอ่อนในพริก จะทำให้ใบบิดเป็นคลื่น ทำให้ต้นพริกชะงักการเจริญเติบโต และยังเป็น “พาหะนำเชื้อไวรัส ทำให้เกิดโรคใบด่างในพริก” มักระบาดในช่วงอากาศแห้งแล้ง