ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กับดักมอดเจาะผลกาแฟ อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำกับดัก วิธีการใช้งานกับดักมอดเจาะผลกาแฟพื้นที่ปลูกกาแฟ 1 ไร่ ใช้กับดัก 5-10 จุด เติมสารล่อทุก 2 สัปดาห์ ควรแขวนกับดักมอดเจาะผลกาแฟ บริเวณกิ่งก้านของต้นกาแฟ ให้กระจายทั่วพื้นที่ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ “มันสำปะหลัง” และ “ศัตรูของมันสำปะหลัง”

เรื่องเล่าเช้าวันจันทร์ ชวนทำความรู้จักกับ "มันสำปะหลัง" และ "ศัตรูของมันสำปะหลัง"

ชวนอ่านเรื่องราวของ “มันสำปะหลัง” และ “ศัตรูของมันสำปะหลัง” เนื่องจากช่วงนี้มีการระบาดในหลายพื้นที่ เกษตรกรจึงจำเป็นต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ 1.คำแนะนำการป้องกันกำจัด หนอนกระทู้…ในมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/4ccGaL22.การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/44kBVbU3.ศัตรูมันสำปะหลังและการจัดการคลิกอ่าน : https://bit.ly/3uG8XqJ4.ศัตรูธรรมชาติในแปลงมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/3J70pMW

อาการขาดแมกนีเซียมในมันสำปะหลัง

อาการขาดแมกนีเซียมในมันสำปะหลัง

แมกนีเซียม (Mg) เป็นองค์ประกอบของส่วนที่เป็นสีเขียวของพืช (คลอโรฟิลล์) ซึ่งทำหน้าที่ในการสังเคราะห์แสง ส่งเสริมการดูดกินและนำพาฟอสฟอรัสขึ้นสู่ลำต้น ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน มีส่วนช่วยในการสร้างน้ำมันเมื่ออยู่ร่วมกับกำมะถัน นอกจากนี้ยังทำหน้าที่หลายอย่างซึ่งมีความสำคัญต่อการหายใจของเซลล์พืช เมื่อพืชขาดแมกนีเชียม ใบแก่ (ใบล่าง) เปลี่ยนเป็นสีเหลือง แต่เส้นใบสีเขียวชัดเจนบนใบสีเหลืองคล้าย “ก้างปลา” อาการนี้เรียกว่า “ใบเหลืองระหว่างเส้นใบ” หรือ “คลอโรซีส” (chlorosis) อาการใบเหลือง จะเริ่มที่ใบแก่ที่สุดก่อนแล้วทยอยเหลืองขึ้นไปลำต้นส่วนบน แต่ใบบนจะไม่แสดงอาการนี้ ความสูงของต้นมักจะไม่ลดลงและใบจะไม่ผิดรูปร่าง การขาดแมกนีเซียม ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในดินที่เป็นกรดจัดต่อมา เมื่อขาดแมกนีเซียมอย่างต่อเนื่อง ใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและแห้งตายในที่สุด ใบที่แตกออกมาใหม่จะมีขนาดเล็ก ขอบใบงอเข้าหากันและเปราะง่าย ง่ายต่อการเข้าทำลายของศัตรูพืช จากการสำรวจพื้นที่ ยังพบอาการขาดธาตุแมกนีเซียม โดยเกษตรกรแจ้งมาว่าพบอาการใบด่างสีเหลืองเขียว กลัวว่าจะเป็นโรคใบด่างมันสำปะหลัง จากการลงพื้นที่พบว่า อาการใบ

หนอนกระทู้หอม กัดกินต้นมันสำปะหลัง

หนอนกระทู้หอม กัดกินต้นมันสำปะหลัง

หนอนกระทู้หอม กัดกินต้นมันสำปะหลัง คำแนะนำ :1.เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลง ให้เก็บและนำมาทำลาย พร้อมกำจัดวัชพืชในแปลงและรอบแปลง2.ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช โดยเลือกสารชนิดใดชนิดหนึ่ง ผสมน้ำ 20 ลิตร เช่นㆍ คลอแรนทรานิลิโพรล 5.17% SC อัตรา 20 มิลลิลิตรㆍ เดลทาเมทริน 3% EC อัตรา 30 มิลลิลิตร หมายเหตุ* หากการระบาดของหนอนลดลงให้ควบคุมด้วยชีวภัณฑ์ โดยฉีดพ่นเชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ทูริงเยนซิส (Bt) อัตรา 80 มิลลิลิตรผสมน้ำ 20 ลิตร หลังจากฉีดพ่นสารเคมีแล้ว 15 วันทั้งนี้ กรมส่งเสริมการเกษตรได้ประสานงานองค์การบริหารปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อหารือแนวทางช่วยเหลือเกษตรกร จัดซื้อสารเคมีสนับสนุนโดยเร่งด่วน ที่มา : https://www.facebook.com/pr.doae/posts/pfbid026Xgma92wiBBm9MApYmWts27K3JsePAvCXhqRtyzh8pQ1gaoq5oQDxGiUpKQGHWfdl

หนอนกระทู้ระบาดในมันสำปะหลัง

หนอนกระทู้ระบาดในมันสำปะหลัง

เตือน “หนอนกระทู้” ระบาดในมันสำปะหลัง แนวทางการป้องกันกำจัด1. เมื่อพบตัวหนอนหรือกลุ่มไข่ในแปลงให้เก็บ และนำมาทำลายพร้อมกำจัดวัชพืชที่อยู่ในแปลง และบริเวณรอบแปลง2. ฉีดพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดศัตรูพืช หากการระบาดของหนอนลดลงให้ควบคุมด้วยชีวภัณฑ์โดยฉีดพ่นเชื้อแบคทีเรีย บาซิลลัส ทูริงเยนซิส (Bt) อัตรา 80 มิลลิลิตร ผสมน้ำ 20 ลิตร หลังจากฉีดพ่นสารเคมีแล้ว 15 วัน เรียบเรียงโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรครากเน่าโคนเน่ามันสำปะหลัง

โรครากเน่าโคนเน่ามันสำปะหลัง

โรครากเน่าโคนเน่ามันสำปะหลัง ลักษณะอาการ : ใบมันสำปะหลังแสดงอาการเหี่ยวเหลือง โคนต้นเน่าเป็นสีน้ำตาลหรือดำ บางพันธุ์โคนต้นจะมีการสร้างค้ำชูตรงรอยแตกของโคนต้น เมื่อถอนขึ้นมาหัวมันสำปะหลังแสดงอาการเน่า หากผ่าหรือหักหัวมันสำปะหลัง จะเห็นภายในสีน้ำตาล ในบางพันธุ์มีอาการเน่าที่อยู่ใต้ดิน โดยที่ส่วนของลำต้นและใบยังมีลักษณะปกติ หรือบางพันธุ์ถ้าอาการรุนแรงมันสำปะหลังอาจยืนต้นตายได้ เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง