ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

เทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในนาข้าว การทำนาเปียกสลับแห้ง คือ การทำนาโดยควบคุมระดับน้ำในแปลงนาให้มีช่วงน้ำขัง กับช่วงน้ำแห้งสลับกันในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้รากและลำต้นของต้นข้าวแข็งแรงขึ้น เนื่องจากดินและรากได้รับอากาศพอ ก็สามารถดูดปุ๋ยได้ดีขึ้น ทำให้ลดการใช้ปุ๋ย 1.การเตรียมดิน ปรับพื้นที่ให้เรียบสม่ำเสมอและสามารถจัดระบบน้ำได้ 2.การติดตั้งท่อพีวีซี (PVC) เพื่อดูระดับน้ำ เตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 25 ซม. เจาะรูห่างกัน

การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของลำไย

การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของลำไย

การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของลำไย ผีเสื้อมวนหวานใช้เหยื่อพิษล่อตัวเต็มวัย โดยใช้ผลไม้สุกมีกลิ่นหอม เช่น กล้วย สับปะรด มะละกอ หรือลูกตาลสุก ตัดเป็นชิ้นหนาประมาณ 1 นิ้ว แล้วจุ่มในสารฆ่าแมลงคาร์บาริล 85% WP อัตรา 2 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร แช่ทิ้งไว้ประมาณ 5 นาที แล้วนำชิ้นผลไม้เหล่านั้นไปแขวนในสวนเป็นจุด ๆ ห่างกันจุดละประมาณ 20 เมตร แมลงค่อมทองเขย่าต้นให้แมลงหล่นลงไปแล้วนำไปทำลาย โดยใช้ยาฆ่าแมลง พวกคาร์บาริล ในอัตรา 30-40 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือคาร์บาเมท (แลนเนท) ในอัตรา 10-15 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หากพบการแพร่ระบาดมาก แนะนำให้ใช้ยาโมโนโครโตฟอส ในอัตรา 15-20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร มวนลำไยใช้ยาฆ่าแมลงพวกโมโนโครโตฟอส ฉีดพ่นในอัตรา 20 ซีซีต่อน้ำ 20 ลิตร หรือยาฆ่าแมลงคาร์บาริล อัตรา 45 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร โดยฉีดพ่นในช่วงระหว่างเดือนมกราคมถึงเมษายน ช่วงเวลาที่ลำไยกำลังเกิดช่อดอกและติดผล ซึ่งช่วงดังกล่าว จะพบทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย สำหรับยาฆ่าแมลงพวกคาร์บาริลจะใช้ได้ผลดีในระยะที่แมลง เป็นตัวอ่อนในวัย 1-2 เท่านั้น ถ้าพ่นในวัยอื่นจะไม่ได้ผล ที่มา/สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอวังส

รับสมัครเกษตรกรผู้ปลูกลำไยที่ยังไม่ได้การรับรอง GAP เข้าร่วมโครงการปรับระบบและเพิ่มศักยภาพการผลิตลำไยให้ได้คุณภาพมาตรฐานฯ

รับสมัครเกษตรกรผู้ปลูกลำไยที่ยังไม่ได้การรับรอง GAP เข้าร่วมโครงการปรับระบบและเพิ่มศักยภาพการผลิตลำไยให้ได้คุณภาพมาตรฐานฯ

ประชาสัมพันธ์รับสมัครเกษตรกรผู้ปลูกลำไยที่ยังไม่ได้การรับรอง GAP เข้าร่วมโครงการปรับระบบและเพิ่มศักยภาพการผลิตลำไยให้ได้คุณภาพมาตรฐานฯ คุณสมบัติ สมัครเข้าร่วมโครงการตั้งแต่บัดนี้ จนถึง 30 พฤศจิกายน 2567ณ สำนักงานเกษตรอำเภอ (ในวันและเวลาราชการ) ใบสมัครเข้าร่วมโครงการhttps://shorturl.asia/7Yr2b สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สนง.เกษตรอำเภอแม่ทา ลำพูน

ศัตรูลำไย ลิ้นจี่

ศัตรูลำไย ลิ้นจี่

ศัตรูลำไย ลิ้นจี่ หนอนเจาะขั้วผล หนอนจะเข้าทำลายผล 2 ระยะ คือ ระยะ แรกเริ่มติดผลประมาณ 1.5-2 เดือน จะเจาะเข้าไปกัดกินภายในเมล็ด มองดูภายนอกจะไม่เห็นรอยทำลาย เมื่อผ่าดูจะเห็นรอยทำลายทำให้ผลไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้ และร่วงหล่นหมด ระยะที่สองเมื่อขนาดผลโต หนอนจะเจาะกินบริเวณขั้วผลจะพบรูเล็ก ๆ ปรากฎอยู่ซึ่งเป็นรูที่หนอนเจาะออกมาเข้าดักแด้อยู่ภายนอก มวนลำไย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อน ช่อดอก และผลอ่อน ทำให้ใบอ่อน และช่อดอก แห้งและร่วง พบการระบาดเป็นประจำทุกปี ทำความเสียหายให้กับลิ้นจี่ และลำไย ในระยะที่ออกดอกและติดผล จำนวนไข่ และตัวอ่อน มีปริมาณสูงสุดเดือนมีนาคมและเมษายน ตัวเต็มวัยพบปริมาณสูงสุด 2 ระยะ คือ เดือนกุมภาพันธ์ และกรกฎาคม ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยเทคโนโลยีรังสี กองส่่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรคและแมลงศัตรูลำไยที่สำคัญ

โรคและแมลงศัตรูลำไยที่สำคัญ

โรคและแมลงศัตรูลำไยที่สำคัญ ที่มักพบเข้าทำลายลำไยในระยะติดผลและเจริญพัฒนาของผล มีดังนี้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่

ไรกำมะหยี่หรือไรสี่ขา

ไรกำมะหยี่หรือไรสี่ขา

ชาวสวนลำไย เฝ้าระวังไรกำมะหยี่หรือไรสี่ขา สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่https://www.facebook.com/biochiangmai/photos