ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เทคนิคการจัดการน้ำแบบเปียกสลับแห้งในนาข้าว การทำนาเปียกสลับแห้ง คือ การทำนาโดยควบคุมระดับน้ำในแปลงนาให้มีช่วงน้ำขัง กับช่วงน้ำแห้งสลับกันในช่วงเวลาที่เหมาะสม เพื่อกระตุ้นให้รากและลำต้นของต้นข้าวแข็งแรงขึ้น เนื่องจากดินและรากได้รับอากาศพอ ก็สามารถดูดปุ๋ยได้ดีขึ้น ทำให้ลดการใช้ปุ๋ย 1.การเตรียมดิน ปรับพื้นที่ให้เรียบสม่ำเสมอและสามารถจัดระบบน้ำได้ 2.การติดตั้งท่อพีวีซี (PVC) เพื่อดูระดับน้ำ เตรียมท่อพีวีซี ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 25 ซม. เจาะรูห่างกัน

เพลี้ยหอยเกล็ด

เพลี้ยหอยเกล็ด พบการระบาดในแปลงมันสำปะหลังที่ใกล้เก็บเกี่ยว หรือพบในต้นมันสำปะหลังที่กองสุมไว้ทำพันธุ์ โดยเพลี้ยหอยเกล็ดมีลักษณะเกล็ดสีขาวนูน ขึ้นปกคลุมเกือบทุกส่วนของมันสำปะหลัง ทั้งส่วนยอด ลำต้น กิ่ง เหง้า และหัว กรณีที่มีการปลูกมันสำปะหลังที่มีเพลี้ยหอยเกล็ดติดไปกับท่อนพันธุ์ การระบาดจะมีความรุนแรงและรวดเร็ว ทำให้ผลผลิตเสียหายถึง 20% ส่วนลักษณะการทำลาย เพลี้ยหอยเกล็ดจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช ทำให้ใบเหลืองและร่วง แคระแกร็น หากมีเพลี้ยหอยเกล็ดปกคลุมทั้งลำต้น ทำให้ลำต้นแห้งตาย การแพร่ระบาดติดไปกับท่อนพันธุ์ และเกษตรกรที่ปฏิบัติงานในแปลงที่มีการระบาดและเครื่องมือทางการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด

เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ที่พบในมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ็คเบียส เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีเขียว และเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู สำหรับเพลี้ยแป้งที่ทำความเสียหายให้กับมันสำปะหลังอย่างรุนแรงคือ เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู ซึ่งเป็นแมลงศัตรูต่างถิ่น ลักษณะการทำลายเพลี้ยแป้งจะดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด และตา ส่งผลต่อคุณภาพท่อนพันธุ์ หัวมีขนาดเล็ก เปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ หากการระบาดรุนแรงยอดจะแห้งตาย ถ้ามีระบาดในช่วงที่มันสำปะหลังอายุน้อย

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อไฟโตพลาสมา มีเพลี้ยจักจั่นเป็นพาหะ และต้นสาบม่วงเป็นพืชอาศัยของโรคพุ่มแจ้ ลักษณะอาการคล้ายกับการทำลายของเพลี้ยแป้ง โดยเชื้อไฟโตพลาสมาจะทำให้ท่อลำเลียงอาหารอุดตัน ทำให้ส่วนยอดแคระแกร็น มีการแตกตาข้างมาก ยอดเป็นพุ่ม ใบเล็กลงสีเหลืองซีด และมีใบแห้งติดกิ่งหรือร่วงหล่น ใบที่เป็นโรคจะเริ่มแห้งตายจากใบล่างขึ้นไปถึงที่ปลายยอด ต่อมากิ่งก้านจะแห้งตายจากยอด ลำต้นแคระแกร็น ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง ในระยะเก็บเกี่ยว หากเชื้อลุกลามลงไปที่หัวมันสำปะหลังจะทำให้หัวมีเส้นสีน้ำตาลดำตามแนวยาวใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตลดลง และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ ถ้าพบการระบาดรุนแรงมันสำปะหลังอาจยืนต้นตายได้ กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้

โรคใบด่างมันสำปะหลัง สาเหตุของโรคเกิดจากเชื้อไวรัส Sri Lankan Cassava mosaic virus (SLCMV) มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ ลักษณะอาการของโรค ส่วนของยอดอ่อนหรือยอดที่เกิดใหม่จะแสดงอาการด่างเขียวอ่อนหรือเหลืองสลับเขียวเข้ม มีขนาดเรียวเล็ก หงิกงอ และเสียรูปทรง อาการบนใบส่วนที่ถัดลงมาจากยอดหรือใบแก่จะพบอาการด่างเขียวอ่อนหรือเหลืองสลับเขียวเข้ม หงิกงอ และเสียรูปทรง ความเสียหายจากโรคจะทำให้มันสำปะหลังไม่สร้างหัวสะสมอาหารหรือหัวมีขนาดเล็ก ซึ่งอาจทำให้ผลผลิตลดลง กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้ 1) ปลูกมันสำปะหลังที่ปลอดโรค

แมลงดำหนามข้าว (Rice hispa) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dicladispa armigera (olivier) วงจรชีวิต รูปร่างลักษณะ ระยะตัวเต็มวัยเป็นด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่ง มีหนามแข็งแหลมแปกคลุมตัว ลำตัวยาว 5-6 มม. เพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ประมาณ 50 ฟอง ใกล้ปลายใบอ่อน ระยะตัวเต็มวัย

ไถกลบตอซัง

ไถกลบตอซัง ปรับโครงสร้างดิน ลดการเผา ลดหมอกควัน การเผาตอซังการเผาตอซังมีผลกระทบอย่างมากต่อการทำลายโครงสร้างของดิน จุลินทรีย์ และสิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ในดิน เนื่องจากความร้อนจากการเผาตอซังก่อให้เกิดผลเสียต่อทรัพยากร โดยทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงไป สูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน ทำลายจุลินทรีย์และแมลงที่เป็นประโยชน์ในดิน สูญเสียน้ำในดิน และทำให้เกิดฝุ่นละออง เถ้าเขม่า และก๊าซหลายชนิด และทำให้เกิดมลพิษและเป็นอันตรายต่อสุขภาพ การใช้น้ำหมักชีวภาพที่ผลิตจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 ช่วยย่อยสลายตอซังสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่เพิ่มประสิทธิภาพการย่อยโปรตีน ไขมัน

การเก็บเมล็ดพันธุ์จุดเริ่มต้นการสร้างความมั่นคงทางด้านอาหาร ลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนอาหารและเมล็ดพันธุ์เมื่อเกิดวิกฤตต่าง ๆ ประเภทของเมล็ดพันธุ์ที่เก็บได้ในครัวเรือน ตัวอย่างการเก็บเมล็ดพันธุ์ ถั่วต่าง ๆเก็บฝักแก่สีน้ำตาล ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง นำเมล็ดออกทำความสะอาด เก็บในภาชนะปิดสนิท พริกเก็บผลสุกแก่ นำเมล็ดออกทำความสะอาด ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง เก็บในภาชนะปิดสนิท บวบเก็บผลแก่จัดแห้ง นำเมล็ดออกทำความสะอาด ผึ่งลมในที่ร่มให้แห้ง เก็บในภาชนะปิดสนิท ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว

การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืชของลำไย ผีเสื้อมวนหวานใช้เหยื่อพิษล่อตัวเต็มวัย โดยใช้ผลไม้สุกมีกลิ่นหอม เช่น กล้วย สับปะรด มะละกอ หรือลูกตาลสุก ตัดเป็นชิ้นหนาประมาณ 1 นิ้ว แล้วจุ่มในสารฆ่าแมลงคาร์บาริล 85% WP อัตรา 2 กรัม ต่อน้ำ 1 ลิตร แช่ทิ้งไว้ประมาณ 5

ราแป้งราดำมะม่วง เกิดจากเชื้อรา Oidium mangiferae พบอาการที่ช่อดอก พบเป็นผงสีขาวคล้ายแป้ง ขึ้นฟูตามก้านช่อดอก ทำให้ดอกมีลักษณะช้ำเป็นสีน้ำตาลอ่อนต่อมาเปลี่ยนเป็นสีดำ แห้งและหลุดร่วงหากติดผลจะทำให้ผลที่ได้ไม่สมบูรณ์มีขนาดเล็กและหลุดร่วงจากขั้วได้ง่าย ส่วนอาการที่ใบจะพบจุดแผลสีเหลือง จะพบเชื้อราเป้นผงสีขาวคล้ายแป้งขึ้นปกคลุมผิวใบ อาการรุนแรงจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเทา และใบบิดเบี้ยวผิดรูป แนวทางการป้องกัน โรคราดำ เกิดจากเชื้อรา Capnodium sp. และ Mesiola sp. พบคราบราสีดำตามส่วนของลำต้น

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 307 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 56 ฉบับที่ 307 (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 2 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาแป้งสาคู วิสาหกิจชุมชนต้นตำรับแป้งสาคูรวมใจบ้านไสขัน ชุมชนบ้านไสขัน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง หน้า 4 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ “วิสาหกิจชุมชน” จุดเริ่มต้นธุรกิจและกิจการของชุมชน หน้า 6 เกษตร Next Genวิสาหกิจชุมชนศูนย์ข้าวชุมชนตำบลไร่มะขาม อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี โรงสีแห่งความสุข ต้นแบบวิสาหกิจชุมชนดีเด่นระดับประเทศ หน้า 8 เกษตร BCG“ครั่ง” แมลงเศรษฐกิจท้องถิ่น สู่สินค้า BCG จังหวัดลำปาง หน้า 11 เกษตรอัจฉริยะDOAE Pest Forecast Application จุดเริมต้นสู่การพัฒนาการจัดการศัตรูพืชอย่างเป็นระบบด้วยนวัตกรรมเพื่อเกษตรอัจฉริยะ หน้า 14 เรื่องจากปกแนวทางการดำเนินงานกรมส่งเสริมการเกษตร ในปีงบประมาณ 2566 9 แนวทางท้าทายก้าวต่อไป ของนักส่งเสริมการเกษตร Keep Going , Keep Growing หน้า 18 เกษตรเพิ่มมูลค่า14 ปี โครงการคัดเลือกเกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด ตอกย้ำอุดมการณ์ ตอบแทนคุณแผ่นดินเกิด ต้นแบบความสำเร็จ อาชีพเกษตรกรรมเผยแพร่สู่สาธารณชน หน้า 20 ชายคา DOAE หน้า 22 เกษตรรอบทิศ หน้า 26 เกษตร Digitalกฎหมายว่าด้วย

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 306 (กันยายน – ตุลาคม 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 306 (กันยายน – ตุลาคม 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ เตรียมตัวปลูกและดูแลพืชผักอย่างไร ให้รอดในช่วงฤดูหนาว หน้า 5 เกษตร Next Genกรมส่งเสริมการเกษตรยกระดับ Young Smart Farmer สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรขานรับ BCG Model พร้อมโชว์ผลการขับเคลื่อนในภาคการเกษตร หน้า 12 เรื่องจากปกTRUST THAILAND IN EXPO 2022 Floriade Almere “เชื่อมั่นประเทศไทย เชื่อมั่นในสินค้าเกษตร” หน้า 18 เกษตรรอบทิศ“ผึ้งเหนา” เส้นทางแห่งความหวาน ณ บ้านคลองบ่อแส หน้า 20 เกษตร Storyวิสาหกิจชุมชนพัฒนาผลิตภัณฑ์พืชผักสมุนไพรและผลไม้ พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาองค์กร สู่วิถีเกษตรยั่งยืน หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าวน้ำหอมเพื่อการค้า หน้า 27 เกษตร Digitalกรมส่งเสริมการเกษตรมุ่งพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และโครงข่ายอินเทอร์เน็ต เพื่อขับเคลื่อนงานและยกระดับ การให้บริการดิจิทัล หน้า 28 เกษตร Field tripศูนย์ฯ แมลงเศรษฐกิจ แหล่งเรียนรู้ด้านแมลงเศรษฐกิจ หนึ่งเดียวของภาคใต้ ณ ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐ

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 305 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 305 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลโครงการส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุุมชนตามพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุุดา ฯ สยามบรมราชกุุมารี หน้า 6 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ เชื้อจุุลินทรีย์ (ชีวภัณฑ์) ตัวช่วยเกษตรกรในการควบคุมศัตรูพืช หน้า 8 เกษตร Next Genเตรียมความพร้อมสร้างคนรุ่นใหม่เข้าสู่ภาคการเกษตร กลุ่มยุวเกษตรกรมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรกรมส่งเสริมการเกษตรมุ่งพัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตรเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์พื้นถิ่น หน้า 14 เรื่องจากปกโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมารเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสที่ทรงเจริญพระชนมพรรษา 70 พรรษา วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 หน้า 18 เกษตรรอบทิศ“ไวน์ลองกองไอร์บาลอ” ไวน์ลองกองหนึ่งเดียวในชายแดนใต้อีกก้าวความสำเร็จอันท้าทายของการส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ หน้า 20 เกษตร Storyวิสาหกิจชุมชนวัยหวาน เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มและสร้างรายได้มาสู่ชุุมชน หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่กรณีศึกษาการพิสูจน์ทร

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 304 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 304 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2565)

ดาวน์โหลด PDF. สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร ผ้าย้อมมูลควาย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ (มูลควาย) บ้านนาเชือก ตำบลแร่อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร หน้า 6 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ การขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ หน้า 8 เกษตร Next Gen“กลุ่มยุวเกษตรกร” กำลังคนขับเคลื่อนการพัฒนาภาคการเกษตรไทยในอนาคต หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชุมชน และการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเกษตรกรสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน หน้า 14 เรื่องจากปกพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ สิริมงคลพสกนิกร ทำขวัญข้าวพืชพันธุ์ธัญญาหารทั่วราชอาณาจักรไทย หน้า 18 เกษตรรอบทิศข้าวหอมกุหลาบ พันธุ์ข้าวท้องถิ่นเพื่อการอนุรักษ์ให้คงอยู่คู่จังหวัดลพบุรี หน้า 20 เกษตร Storyวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรแปรรูปดอยหลวง จุดเริ่มต้นจากสิ่งดี ๆ สู่ผลิตภัณฑ์มะม่วงมหาชนก 100% หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่ลดต้นทุนการผลิตด้วยการทำเกษตรแม่นยำ หน้า 27 เกษตร Digitalกระบวนการพัฒนา Platform และ Application รู้ดิน รู้ปุ

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

วารสารส่งเสริมการเกษตร ปีที่ 55 ฉบับที่ 303 (มีนาคม – เมษายน 2565)

ดาวน์โหลดไฟล์ PDF สารบัญ/contents หน้า 3 เกษตรขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร นาขาวัง กลุ่มแปลงใหญ่ข้าวเขาดิน หมู่ที่ 4 ตำบลเขาดิน อำเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา หน้า 6 เกษตร FocusQ&A เรื่องนี้มีคำตอบ การขยายพันธุ์พืชและแหล่งพืชพันธุ์ดี หน้า 8 เกษตร Next Genโครงการดี ๆ เพื่อพัฒนาเกษตรกรต้นแบบ สู่ผู้ประกอบการชั้นนำ “โครงการพัฒนา Smart Farmer ผู้ประกอบการต้นแบบเพื่่อยกระดับเกษตรกร เป็นผู้ประกอบการเกษตรชั้นนำ หรือ Agri BIZ Idol Development Project” หน้า 11 ที่นี่กรมส่งเสริมการเกษตรเปิดตัว สถานีวิทยุกระจายเสียงเพื่่อการเกษตร โฉมใหม่ รับฟังข่าวสารทางการเกษตรก่อนใครได้ ทุกที่ ทุกวัน ทุกเวลา หน้า 14 เรื่องจากปกแนวทางการบริหารจัดการผลไม้ภาคตะวันออก และมาตรการ Zero – COVID สร้างความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ หน้า 18 เกษตรรอบทิศองุ่นเกาะกลาง ปลอดภัย รสชาติดี ต้องที่นี่ เกาะยาว พังงา หน้า 20 เกษตร Storyณิชกรข้าวแตน เมืองมีน สร้างรอยยิ้ม สร้างรายได้ สร้างความสุขของชุมชน หน้า 22 ชายคา DOAE หน้า 24 เกษตรมิติใหม่ผลสำเร็จโครงการพัฒนาธุรกิจบริการดินและปุ๋ยเพื่่อชุุมชน