ระวังเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ระวังเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายข้าวโดยดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณโคนต้นข้าวเหนือผิวน้ำ ต้นข้าวที่ถูกทำลายจะมีใบเหลืองแห้งตายเป็นหย่อม เรียก “อาการไหม้” พบช่วงแตกกอถึงออกรวง เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เป็นพาหะนำเชื้อไวรัส “โรคหงิกหรือโรคจู๋” เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล รูปร่างลักษณะ ระยะเข้าทำลาย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ลักษณะการทำลายและการระบาด ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอป่าโมก จังหวัดอ่างทอง
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เป็นแมลงกลุ่มปากดูด ตัวเต็มวัยมีลําตัวสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลปนดํา มี รูปร่าง 2 ลักษณะ คือ ชนิดปีกยาว (macropterous form) ชนิดมี ปีกยาวสามารถเคลื่อนย้ายและอพยพไปในระยะทางใกล้และไกล โดย อาศัยกระแสลมช่วย ทั้งนี้เต็มวัยเพศเมียชนิดปีกยาวมีขนาด 4-4.5 มิลลิเมตร วางไข่ประมาณ 100 ฟอง(เน้นการเคลื่อนที่ไปแปลงใหม่) และชนิดปีกสั้น (bracrypterous form) ตัวเต็มวัยเพศเมียจะวางไข่ เป็นกลุ่ม เพศเมียชนิดปีกสั้นวางไข่ประมาณ 300 ฟอง(เน้นการลง ทําลายในพื้นที่) ส่วนใหญ่วางไข่ที่กาบใบข้าว หรือเส้นกลางใบ เรียงแถว ตามแนวตั้งฉากกับกาบใบข้าว บริเวณที่วางไข่จะมีรอยช้ําเป็นสีน้ําตาล ไข่มีลักษณะรูปกระสวยโค้งคล้ายกล้วยหอม มีสีขาวขุ่น ตัวอ่อนมี 5 ระยะ ระยะตัวอ่อน 16-17 วัน เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรคลองหลวง จ.ปทุมธานีhttps://www.facebook.com/doaekhlongluang ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.
แมลงศัตรูข้าวช่วงฤดูแล้ง
แมลงศัตรูข้าวช่วงฤดูแล้ง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย
แนวทางป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
แนวทางป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969