ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เพลี้ยจักจั่นฝอยทุเรียน (Durian leafhopper) วงจรชีวิต ลักษณะการทำลาย แนวทางการป้องกันกำจัด เขตกรรม วิธีกล ชีววิธี สารเคมี การใช้สารเคมี เช่น สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันกำจัดกลุ่มเพลี้ยจักจั่น ได้แก่ การใช้สารเคมีกำจัดแมลงเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาของเพลี้ยจักจั่น ควรพ่นสารเคมีที่มีกลไกการออกฤทธิ์แตกต่างกันสลับกันตามวงจรชีวิตของแมลง สำหรับเพลี้ยจักจั่นมีวงจรชีวิตประมาณ 1 เดือน ดังนั้น ควรใช้สารที่มีกลไกเดียวกันไม่เกิน 1

คำแนะนำการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ เฝ้าระวังการระบาดของหนอนกระทู้ เนื่องจากช่วงนี้พบการระบาดของหนอนกระทู้หอม และหนอนกระทู้ผักเข้าทำลายมันสำปะหลังในหลายพื้นที่ นอกจากนี้ยังพบหนอนกระทู้กล้าเข้าทำลายในข้าว และหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดเข้าทำลายข้าวโพด ประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้งเป็นเวลานาน และเริ่มมีฝนตกในหลายพื้นที่ ทำให้ดักแด้ที่พักตัวอยู่ในดินพัฒนาเป็นตัวเต็มวัย (ผีเสื้อกลางคืน) และวางไข่ สภาพอากาศเช่นนี้ทำให้วงจรชีวิตหนอนสั้นลง ขยายพันธุ์อย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดการแพร่ระบาดเป็นวงกว้างและเข้าทำลายหลายชนิดพืช รูปร่างลักษณะ หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด : fall armyworm (Spodoptera frugiperda (J.E.

เปิดรับสมัคร อบรมการบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ ปี 67 (รุ่น 2) ขอเชิญชวนเกษตรกร ผู้นำเกษตรกร (อกม./YSF/SF) เจ้าหน้าที่ และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม ณ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี

การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ในปัจจุบันการเพาะเห็ดฟางได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เพราะได้ผลตอบแทนเร็ว เพียงระยะ 9-11 วัน ก็เริ่มเก็บผลผลิตได้ต้นทุนการผลิตต่ำ สามารถเพาะได้ทุกพื้นที่รูปแบบมีหลายรูปแบบ วัสดุอุปกรณ์ ขั้นตอนการทำ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน เปิดรับสมัครเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรม หลักสูตร “หมอพืชชุมชน” ตั้งแต่บัดนี้ – 19 กรกฎาคม 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สำนักงานเกษตรจังหวัดแม่ฮ่องสอน หมายเลขโทรศัพท์ : 053-611044

ใบบัวบก

ใบบัวบก บัวบกมีสารสำคัญกรดมาเดคาสสิก (Madecassic acid) กรดเอเชียติก (Asiatic acid) การปลูกปลูกได้ดีในดินเหนียวหรือดินเหนียวปนดินร่วน ใบบัวบกจะขยายพันธุ์โดยไหลและเมล็ด วิธีขยายจากไหลตัดไหลเป็นท่อน ๆ ไปเพาะในกระบะเพาะ 1-2 สัปดาห์ การดูแลรักษาบัวบกต้องการความชื้น แต่ไม่แฉะควรให้น้ำสม่ำเสมอ ควรระวังอย่าให้น้ำขัง จะเกิดโรคโคนเน่า การเก็บเกี่ยวเริ่มเก็บเกี่ยวหลังจากปลูกได้ประมาณ 60-90 วัน ใช้มีดตัดเหนือจากพื้นดินประมาณ

การทาบกิ่ง

การทาบกิ่ง เป็นวิธีการขยายพันธุ์พืชวิธีหนึ่งที่ทำให้ได้ต้นพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะทางสายพันธุ์เหมือนต้นแม่ทุกประการ โดยกิ่งพันธุ์ดีจะให้ผลผลิตที่ตรงตามพันธุ์ อุปกรณ์ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดฉะเชิงเทรา

เชิญร่วมงาน คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบพบกิจกรรมน่าสนใจงาน รับปัจจัยการผลิตมากมายจากหน่วยงานที่มาให้บริการ อาทิ วันที่ 30 กรกฎาคม 2567 อย่าลืมนำบัตรประชาชน หรือ ThaiD มาลงทะเบียนเพื่อขอรับบริการ ได้ตั้งแต่ เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป

ขอเชิญร่วมงาน “คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระบรมราชานุเคราะห์ฯ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคล เฉลิมพระชนพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

รู้หรือไม่ ? ถ้ารู้จัก “ดิน” ดีกว่าใคร จะมีชัย “ในการปลูก” ไปกว่าครึ่ง จันทร์นี้เลยอยากจะชวนทุกคน มาอ่านเรื่องราวของดินและปุ๋ย เนื่องจากการผลิตพืชเพื่อให้ได้ผลผลิตสูง และคุ้มค่าต่อการลงทุนนั้น ต้องรู้จักธรรมชาติของดินในพื้นที่ปลูกของตนเองก่อน เกษตรกรจึงจะสามารถเลือกใช้ปุ๋ยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพนั่นเอง ชวนอ่านเรื่องราวจากทั้ง 4 เอกสารแนะนำ ดังนี้ 1. รู้จักดินดีหรือยัง? คลิกอ่าน :

สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่ ขอเชิญชวนร่วมงาน “Young Smart Farmer Phrae Showcase 2024” คนรุ่นใหม่หัวใจเกษตร

สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่ ขอเชิญชวนร่วมงาน “Young Smart Farmer Phrae Showcase 2024” คนรุ่นใหม่หัวใจเกษตร

สำนักงานเกษตรจังหวัดแพร่ ขอเชิญชวนร่วมงาน “Young Smart Farmer Phrae Showcase 2024” คนรุ่นใหม่หัวใจเกษตร ระหว่างวันที่ 30 พฤษภาคม ถึงวันที่ 1 มิถุนายน 2567ณ สวนสุขภาพเฉลิมพระเกียรติ ร.9 จังหวัดแพร่ ภายในงานมีกิจกรรมมากมาย อาทิ

40. Young Smart Farmer

40. Young Smart Farmer

40. Young Smart Farmer ช่วงเวลาสำคัญของ Young Smart Farmer เกษตรกรรุ่นใหม่ที่รักและอยากพัฒนาอาชีพด้านการเกษตรมาถึงแล้ว เราจะได้มาร่วมแลกเปลี่ยนทั้งด้านความรู้ เทคโนโลยีด้านการผลิต การหาช่องทางการตลาด เพื่อก้าวสู่การพัฒนาเป็นผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่ แต่ท่านรู้หรือไม่…ก่อนจะได้เป็น Young Smart Farmer (YSF) จะต้องทำอย่างไร มีอะไรที่จะต้องรู้ก่อนสมัครบ้าง เรารวบรวมคำถามมาไว้ให้ที่นี่แล้ว

Young Smart Farmer ปี 2567

Young Smart Farmer ปี 2567

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer ปี 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : Young Smart Farmer Thailand https://www.facebook.com/Youngsmartfarmerthailand

Young Smart Farmer ปี 2566

Young Smart Farmer ปี 2566

รับสมัคร Young Smart Farmer ปี 2566 พัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้มีความสามารถด้านการเกษตรทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุ และสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรรุ่นใหม่หันมาประกอบอาชีพเกษตรกรรรม สนใจสมัครได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอสบปราบ ภายในวันที่ 15 พฤศจิกายน 2565 ตามรายละเอียดด้านล่าง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม https://www.facebook.com/kaset.sopprap

Young Smart Farmer อนาคตและทิศทางภาคเกษตรไทย

Young Smart Farmer อนาคตและทิศทางภาคเกษตรไทย

Young Smart Farmer อนาคตและทิศทางภาคเกษตรไทย เพื่อพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้มีขีดความสามารถด้านการเกษตร สามารถทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุ และสร้างแรงจูงใจให้คนรุ่นใหม่หันมาประกอบอาชีพเกษตรกรรม โดยจะต้องมีศักยภาพสามารถนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาประยุกต์ใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาดสินค้าเกษตร จนเป็นผู้นำทางการเกษตรในท้องถิ่น และสร้างเครือข่ายความร่วมมือในทุกระดับ การเข้าร่วมโครงการ Young Smart Farmer เกษตรกรรุ่นใหม่มีคุณสมบัติเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ (1) มีอายุระหว่าง 17-45 ปี และเริ่มต้นทำการเกษตร (2) มีความมุ่งมั่นตั้งใจในการทำการเกษตร ต้องการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพชีวิตตนเอง (3) สมัครใจเข้าร่วมโครงการและต้องเข้าร่วมกิจกรรมตลอดระยะเวลาโครงการ * เกษตรกรรุ่นใหม่ต้องขึ้นทะเบียนเกษตรกรด้วย >> 1. ติดต่อสำนักงานเกษตรอำเภอในพื้นที่ของท่าน เพื่อขึ้นทะเบียนเกษตรกร และขอเข้าร่วมโครงการ Young Smart Farmer >> 2. จากนั้นจะมีการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเน้นให้เกษตรกรรุ่นใหม่เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรเป็นผู้จัดก