ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

กับดักมอดเจาะผลกาแฟ อุปกรณ์ ขั้นตอนการทำกับดัก วิธีการใช้งานกับดักมอดเจาะผลกาแฟพื้นที่ปลูกกาแฟ 1 ไร่ ใช้กับดัก 5-10 จุด เติมสารล่อทุก 2 สัปดาห์ ควรแขวนกับดักมอดเจาะผลกาแฟ บริเวณกิ่งก้านของต้นกาแฟ ให้กระจายทั่วพื้นที่ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

โรคใบขาวอ้อย

โรคใบขาวอ้อย สาเหตุ เชื้อไฟโตพลาสมา ลักษณะอาการ : พบในอ้อยทุกระยะการเจริญเติบโต พบอาการใบสีขาว สีเขียวอ่อนหรือสีขาวสลับสีเขียวอ่อน ใบมีขนาดเล็กเป็นฝอย แตกกอมาก ไม่เจริญเติบโตและตาย การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทางท่อนพันธุ์อ้อยและระบาดผ่านแมลงพาหะ 2 ชนิด ได้ แนวทางการป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

การจัดการแมลงศัตรูข้าว ชนิดของแมลงที่ทำลายช่วงต่าง ๆ ของข้าวตลอดช่วงอายุ 120 วัน และการเข้าทำลายของแมลงศัตรูข้าว ที่พบตามระยะการเจริญเติบโตของข้าว ตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ และระยะออกร่วง แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะกล้า แมลงศัตรูข้าวช่วงระยะแตกกอ แมลงศัตรูพืชช่วงระยะออกรวง การป้องกันและกำจัดแมลง เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมระบบการผลิตข้าว สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร

การปลูกเตยหอม

การปลูกเตยหอม การเตรียมดินและโรงเรือนปลูก การปลูกเตยหอมปลูกด้วยวิธีการดำหน่อพันธุ์ ประมาณ 25,000 หน่อต่อไร่ โดยมีระยะห่างประมาณ 50 เซนติเมตร วิธีการดูแลรักษาใส่ปุ๋ย สูตร 16-20-0 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ ทุก ๆ 3-4 เดือน การเก็บเกี่ยว

ต่อทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ประจำปี 2568 ระหว่างวันที่ 1-30 มกราคม 2568 ช่องทางออนไลน์ กรณีจดทะเบียนผ่าน e-Form กรณีจดทะเบียน ณ สำนักงานรับจดทะเบียน ดำเนินการ ดังนี้ ณ สำนักงานเกษตรอำเภอที่จดทะเบียนฯยื่นแบบ สวช.03 พร้อมแนบหลักฐาน ดังนี้ เรียบเรียงโดย :

คุณสมบัติและหลักเกณฑ์ เอกสารประกอบ กรณีไม่เป็นนิติบุคคล เอกสารประกอบ กรณีเป็นนิติบุคคล ขั้นตอน วิสาหกิจชุมชนและเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน แบ่งเป็น 2 กลุ่มกิจการกลุ่มที่ 1 : กลุ่มการผลิตสินค้า ประกอบด้วย 18 ประเภทกิจการ กลุ่มที่ 2 : กลุ่มการให้บริการ ประกอบด้วย 6

โรคราสนิมในอ้อย

โรคราสนิมในอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Puccinia melanocephala เชื้อราสาเหตุโรคสามารถพักตัวในเศษซากพืช เกิดโรคข้ามฤดู และสามารถแพร่กระจายผ่านลมและน้ำ อาการ : ใบอ่อนพบจุดแผลขนาดเล็กสีแดง เมื่อใบแก่จุดแผลจะขยายออกเป็นสีน้ำตาลแดง (สีสนิม) มีวงสีเหลืองล้อมรอบ ใต้ใบมีแผลนูน เมื่อแผลแตกออก มีลักษณะขรุขระ พบผงสปอร์สีน้ำตาลแดง (สีสนิม) การป้องกัน *พ่นทุก

ระยะเวลาเก็บเกี่ยว ความชื้นของเมล็ด20-25% วิธีการเก็บเกี่ยว ใช้แรงงานคน ใช้เครื่องจักรกล ควรหลีกเลี่ยงการเก็บเกี่ยวในขณะที่ฝนตกหรือหลังฝนตกทันที การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว การคัดคุณภาพ การขนย้าย เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

สำนักงานเกษตรอำเภอบางแก้ว ขอเชิญร่วมงาน  คลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ครั้งที่ 1  ในวันพฤหัสบดีที่ 12 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. เป็นต้นไป ณ ศาลาประชาคมอำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ภายในงานจะประกอบด้วยกิจกรรม **ทั้งนี้เกษตรกรที่มาร่วมงาน ขอให้นำบัตรประจำตัวประชาชน

ธาตุอาหารและสูตรปุ๋ย ปุ๋ยเคมี ตัวอย่าง 16-8-8 ตัวเลขบนกระสอบบอกถึงน้ำหนักของธาตุอาหารเทียบต่อน้ำหนักปุ๋ย 100 กิโลกรัม N ไนโตรเจนปุ๋ย 100 กิโลกรัม มีไนโตรเจน 16 กิโลกรัมปุ๋ย 50 กิโลกรัม จึงมีไนโตรเจน 8 กิโลกรัม P ฟอสฟอรัสปุ๋ย 100

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (ข้าวโพด)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (ข้าวโพด)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (ข้าวโพด) หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดสำรวจ 10 จุดทั่วแปลง จุดละ 10 ต้น เพื่อประเมินพื้นที่ถูกทำลาย ข้าวโพด อายุ 1-21 วันไม่ระบาด = พบต้นถูกหนอนทำลาย น้อยกว่า 10%รุนแรงน้อย = พบต้นถูกหนอนทำลาย 11-30%รุนแรงมาก = พบต้นถูกหนอนทำลาย มากกว่า 30% ข้าวโพด อายุ 22-45 วันไม่ระบาด = พบต้นถูกหนอนทำลาย น้อยกว่า 30%รุนแรงน้อย = พบต้นถูกหนอนทำลาย 31-50%รุนแรงมาก = พบต้นถูกหนอนทำลาย มากกว่า 50% ข้าวโพด อายุ 45วันขึ้นไปไม่ระบาด = พบต้นถูกหนอนทำลาย น้อยกว่า 10%รุนแรงน้อย = พบต้นถูกหนอนทำลาย 11-30%รุนแรงมาก = พบต้นถูกหนอนทำลาย มากกว่า 30% ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว) 1.หนอนหัวดำมะพร้าวสุ่มนับทางใบที่เขียวสมบูรณ์ แยกระดับความรุนแรงน้อย = ใบเขียวสมบูรณ์ 13 ทางใบขึ้นไปปานกลาง = ใบเขียวสมบูรณ์ 6-13 ทางใบรุนแรง = ใบเขียวสมบูรณ์ น้อยกว่า 6 ทางใบ 2.แมลงดำหนามมะพร้าวสุ่มนับใบยอดที่ถูกทำลาย แยกตามระดับความรุนแรงน้อย = ใบยอดถูกทำลาย 1-5 ทางใบปานกลาง = ใบยอดถูกทำลาย 6-10 ทางใบรุนแรง = ใบยอดถูกทำลาย 11 ทางใบขึ้นใบ 3.ด้วงแรดมะพร้าวสำรวจมะพร้าวทุกต้นในแปลง หากพบทางใบมะพร้าวถูกทำลายเป็นรูปพัด = พบการระบาด 4.ด้วงงวงสำรวจมะพร้าวทุกต้นในแปลง หากพบมะพร้าวคอหักพับ ยืนต้นตาย = พบการระบาด 5.ไรสี่ขามะพร้าวสำรวจมะพร้าวร้อยละ 10 ของจำนวนต้นมะพร้าว หากพบผลมะพร้าวถูกทำลาย = พบการระบาด ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง)

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง) 1.โรคใบด่างมันสำปะหลัง กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง กระจายทั่วแปลง ให้ถือว่าพื้นที่ระบาดเท่ากับพื้นที่ปลูก กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง เป็นหย่อมหรือบริเวณมุมใดมุมหนึ่งของแปลงให้แบ่งขอบเขตแปลงในบริเวณที่เป็นโรค ในรัศมี 20 เมตร จากจุดที่เป็นโรค แล้วจึงคิดเป็นสัดส่วนเทียบกับพื้นที่ปลูก 2.เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังให้สำรวจอย่างน้อย 10 จุดสำรวจ จุดละ 1 ต้น ทั่วแปลงพื้นที่ระบาด = พบเพลี้ยแป้ง 3 จุดขึ้นไปพื้นที่เฝ้าระวัง = พบเพลี้ยแป้ง 1-2 จุด ที่มา : สำนักงานเกษตรอำเภอเมืองกำแพงเพชร

มวนยุงในฝรั่ง

มวนยุงในฝรั่ง

มวนยุงในฝรั่ง เชื้อสาเหตุ : Helopeltis theivora มวนยุง หรือ มวนยุงชา หรือ มวนโกโก้ อยู่ในวงศ์ Miridae อันดับ Hemiptera เป็นแมลงศัตรู สำคัญของพืชหลายชนิด เช่น ชา โกโก้ อะโวกาโด้ มะม่วงหิมพานต์ เป็นแมลงชนิดปากดูด ลักษณะการทำลายทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยทำลายฝรั่ง โดยใช้ปากดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณยอด ใบอ่อน ผลอ่อน เกิดรอยแผลจุดสีน้ำตาลบริเวณที่มวนดูดทำลาย ยอดไม่เจริญ ผลและใบบิดเบี้ยว และทำให้เชื้อราเข้าทำลายซ้ำได้ รูปร่างลักษณะ แนวทางแก้ไข/ป้องกัน ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี

โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน

โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน

โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อสาเหตุ : Phytophthora palmivora ลักษณะการทำลาย อาการที่กิ่งและที่ลำต้นหรือโคนต้นระยะแรกจะแสดงอาการใบเหลืองเป็นบางกิ่ง สังเกตเห็นคล้ายคราบน้ำบนผิวเปลือกของกิ่งหรือต้น ในช่วงเช้าที่มีอากาศชื้นอาจเห็นเป็นหยดของเหลวสีน้ำตาลแดงออกมาจากบริเวณแผล และจะค่อย ๆ แห้งไปในช่วงที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบ เมื่อใช้มีดถากบริเวณคราบนั้น จะพบเนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล ถ้าแผลขยายใหญ่ลุกลามจนรอบโคนต้น จะทำให้ทุเรียนใบร่วงจนหมดต้น และยืนต้นแห้งตาย อาการที่รากเริ่มแรกจะเห็นใบที่ปลายกิ่งมีสีซีด ไม่เป็นมันเงา เหี่ยวลู่ลง เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น ใบจะเหลืองและหลุดร่วง หากขุดดูราก จะพบรากฝอยมีลักษณะเปลือกล่อน และเปื่อยยุ่ยเป็นสีน้ำตาล อาการที่ใบใบอ่อนแสดงอาการเหี่ยวเหลือง บริเวณแผลมีลักษณะฉ่ำน้ำ สีน้ำตาลอ่อน และเปลี่ยนเป็นสีดำ ตายนึ่งคล้ายน้ำร้อนลวก เส้นใบมีสีน้ำตาลดำ เกิดอาการไหม้แห้งคาต้น อย่างรวดเร็วแล้วค่อย ๆ ร่วงไป พบมากช่วงฝนตกหนักต่อเนื่องหลายวัน แนวทางแก้ไข/ป้องกัน ที่มา : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี