ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

หนอนกระทู้ผัก (common cutworm) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Spodoptera litura (Fabricius)วงศ์ : Noctuidaeอันดับ : Lipidoptera วงจรชีวิตหนอนกระทู้ผักเฉลี่ย 25-35 วัน ลักษณะการทำลายเมื่อหนอนฟักออกจากไข่จะอยู่รวมเป็นกลุ่ม กัดแทะเฉพาะผิวใบเหลือแต่เส้นใบ เห็นเป็นสีขาว เมื่อหนอนโตขึ้นจะสามารถกัดกินได้ปริมาณมากและรวดเร็ว ทำให้ใบพืขขาดเป็นรู ในช่วงกลางวันหนอนมักจะหลบอยู่ใต้ใบ ตามซอกของใบ

รับสมัครเกษตรกรเข้าร่วม โครงการปลูกพืชใช้น้ำน้อย เงื่อนไขเข้าร่วมโครงการ เอกสารการสมัคร **สมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปจนกว่าจะครบจำนวน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย

กรมส่งเสริมการเกษตร ชวนเกษตรกรทำการเกษตรแบบปลอดการเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร จัดการแปลงเกษตรปลอดการเผา มุ่งสู่มาตรฐาน GAP เพื่อเพิ่มสินค้าคาร์บอนต่ำ ช่วยให้อากาศสะอาด ไม่ก่อฝุ่นละออง PM2.5 ช่วยลดต้นทุนการผลิตและสร้างรายได้ให้เกษตรกรด้วย “3R Model”

โรคแส้ดำอ้อย สาเหตุ : เชื้อรา Ustilago scitaminea การแพร่ระบาดเชื้อรานี้จะอาศัยอยู่ในทุกส่วนของพืช ติดอยู่กับตอเก่าในแปลง และท่อนพันธุ์ที่เป็นโรคผงสปอร์จากแส้ดำจะระบาดโดยปลิวติดไปกับลมและฝน นอกจากนั้นเชื้อราจะอาศัยอยู่ในดินที่อยู่ในเขตแห้งแล้งได้นาน ลักษณะอาการต้นอ้อยส่วนยอดผิดปกติเป็นก้านแข็งและยาวคล้ายแส้สีดำ ตอที่เป็นโรครุนแรงจะแตกหน่อมาก แคระแกร็นคล้ายตอตะไคร้ทุกยอดจะสร้างแส้ดำแล้วแห้งตายทั้งกอ พันธุ์ต้านทานโรคที่ปลูกในปีแรก อาจมีอาการแส้ดำเพียงบางยอด เจริญเติบโตได้ตามปกติและในพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคจะมีอาการลำต้นผอมเรียว ใบเล็กแคบยาวคล้ายต้นหญ้าพง ให้ผลผลิตน้อย ความเสียหายและความรุนแรงของโรคจะเพิ่มมากขึ้นในอ้อยตอรุ่นต่อไป การป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย :

เพลี้ยไฟในข้าว เพลี้ยไฟเป็นแมลงจำพวกปากดูดขนาดเล็ก ลำตัวยาว มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีสีดำ ตัวอ่อนมีสีเหลืองอ่อน ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เดี่ยว ๆ สีครีมในเนื้อเยื่อของใบข้าว ไข่ฟักตัวเป็นตัวอ่อนที่มีสีเหลืองนวล จากนั้นตัวอ่อนจะเข้าดักแด้บนต้นข้าวต้นเดิมที่ฟักออกจากไข่ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยมีปากแบบเขี่ยดูด ใช้ในการทำลายต้นข้าว ลักษณะการเข้าทำลายเพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะทำลายข้าว โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบข้าวที่ยังอ่อน โดยอาศัยอยู่ตามซอกใบ ระบาดในระยะกล้า เมื่อใบข้าวโตขึ้น ใบที่ถูกทำลายปลายใบจะเหี่ยวขอบใบจะม้วนเข้าหากลางใบและอาศัยอยู่ในใบที่ม้วนนั้น พบทำลายข้าวในระยะกล้าหรือหลังปักดำ 2-3 สัปดาห์

ฤดูหนาวปลูกผักอะไรดี ? ? (ช่วงเดือนตุลาคม-มกราคม) พืชผักที่เจริญเติบโตได้ดีในฤดูหนาว ได้แก่ ผักสลัด กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก กุยช่าย ขึ้นฉ่าย แครอท กระเทียม หอมแดง มะเขือเทศ ถั่วลันเตา และพริกยักษ์ เป็นต้น อย่างไรก็ตาม พืชผัก เป็นพืชสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี โดยทั่วไปแล้ว

วันที่ 27 ธันวาคม 2567 สื่อประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ชิ้น ปี 2568 ปีแห่งการพัฒนาเกษตรกรไทยจะก้าวหน้า หากปรับตัวรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ศึกษาความต้องการในการเจริญเติบโตของพืช การจัดการโรคและแมลงศัตรูพืช ลดปัจจัยในการผลิต เรียนรู้เทคโนโลยีใหม่ ๆ รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสาร ติดตามสถานการณ์ภัยแล้ง “กรมส่งเสริมการเกษตร พร้อมเคียงข้างให้คำแนะนำในทุกการเปลี่ยนแปลง เพื่อให้เกษตรกรไทย

วันที่ 27 ธันวาคม 2567 ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 5 จังหวัดบุรีรัมย์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 2,913 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

กลุ่มพืชและชนิดพืชแนะนำที่สามารถเพาะปลูกได้ในช่วงฤดูแล้ง กลุ่มพืชไร่ จำนวน 5 ชนิด ได้แก่ กลุ่มพืชสมุนไพร จำนวน 1 ชนิด ได้แก่ กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับ จำนวน 2 ชนิด ได้แก่ กลุ่มพืชผัก จำนวน 31 ชนิด ได้แก่ เรียบเรียงโดย

เกษตรกรไทยร่วมใจ หยุดเผา ในพื้นที่การเกษตรอย่างยั่งยืนด้วย 3R Model : 3 เปลี่ยน 1.เปลี่ยนพฤติกรรม Re-Habitปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปลูกพืช ชนิดเดิมแบบไม่เผา โดยการนำเครื่องจักรเข้ามาช่วยในการเก็บเกี่ยว และส่งเสริมการแปรรูป เพิ่มมูลค่าเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อลดการเผา 2.เปลี่ยนชนิดพืช Replace with High Value Cropsปรับเปลี่ยนชนิดพืชที่ปลูกบนพื้นที่สูง จากพืชไร่เป็นไม้ผล

เพลี้ยหอยสีแดงแคลิฟอร์เนียในส้มโอ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โรคแคงเกอร์ในมะนาว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

ใบจุดสีน้ำตาลในข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

การผลิตพืชผักปลอดสารพิษ ด้วยการป้องกันกำจัดแบบผสมผสาน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่https://www.facebook.com/aopdh10/

หนังสือแนะนำเดือนสิงหาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ จัดทำโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่ https://www.facebook.com/km.ndoae

แนะนำนิตยสารน่าอ่านเดือนสิงหาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

การผลิตท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง สะอาดและมีคุณภาพ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมาhttps://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

 ขอเชิญร่วมส่งประกวดผลผลิตทางการเกษตร  งานวันส้มโอและของดีเมืองลาดยาว ประจำปี 2566วันที่ 1 กันยายน 2566 ณ บริเวณหน้าที่ว่าการอำเภอลาดยาว

ด้วงแรดมะพร้าว ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 44/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช

โรคพุ่มแจ้ในมันสำปะหลัง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 43/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช

โรคใบด่างมันสำปะหลัง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 42/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช

โรคไหม้ข้าวหรือไหม้คอรวง ประจำเดือนสิงหาคม 2566 ฉบับที่ 41/66 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช

เฝ้าระวัง โรคโคนเน่าหัวเน่ามันสำปะหลัง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

โรคและแมลงศัตรูส้ม “โรคแคงเกอร์” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

แมลงศัตรูผัก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

การผลิตกล้วยพันธุ์ดี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 6 จังหวัดพิษณุโลก กรมส่งเสริมการเกษตร เบอร์โทรศัพท์

การผลิตเบญจมาศพันธุ์ดี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ขยายพันธุ์พืชที่ 8 จังหวัดลำพูน เบอร์โทรศัพท์ 0

แมลงตัวห้ำและตัวเบียน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

ด้วงงวงเจาะลำต้นมะพร้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

“PK CHOCOLATE” แหล่งเรียนรู้การปลูกโกโก้ครบวงจร ศูนย์บ่มเพาะเกษตรกรรุ่นใหม่ จังหวัดชลบุรี ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

แหล่งเรียนรู้ องค์ความรู้ด้านการเกษตร แนะนำแหล่งเรียนรู้ จุดดูงาน จุดสาธิต และแหล่งบริการข้อมูลด้านการเกษตรของกรมส่งเสริมการเกษตร ทั้งรูปแบบออฟไลน์ และรูปแบบออนไลน์

ผีเสื้อมวนหวานในพืชตระกูลส้ม จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

การปลูกผักกะละมัง จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี https://www.facebook.com/pathumthani.doae

แนะนำนิตยสารน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

คู่มือการพิจารณาพื้นที่ที่ขอรับรองมาตรฐานระบบการผลิต GAP Organic ปี 2566 ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

คู่มือตลาดเกษตรกรออนไลน์ (สำหรับเกษตรกร) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แหนแดง แผ่นพับเรื่องแหนแดง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

เชื้อราไตรโคเดอร์มา แผ่นพับที่ 14/2566 เชื้อราไตรโคเดอร์มา เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

แมลงศัตรูข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

โรคข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แผ่นพับที่ 12/2566 แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564 เรียบเรียง : กลุ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร

การวินิจฉัยอาการด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัสและการขาดธาตุอาหาร แผ่นพับที่ 16/2566 การวินิจฉัยอาการด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัสและการขาดธาตุอาหาร เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงศัตรูพืช ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391&locale=th_TH

การควบคุมศัตรูทุเรียน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา ,

ขอพระองค์ทรงพระเจริญ 4 กรกฎาคม วันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน

มาทำเชื้อราบิวเวอเรียมากันเถอะ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100043336281224

มาทำเชื้อราไตรโคเดอร์มากันเถอะ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100043336281224

เอกสารคำแนะนำที่ 4/2566 การปรับปรุงบำรุงดินในภาวะปุ๋ยแพง เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์

เอกสารคำแนะนำที่ 3/2566 การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้แบบมืออาชีพ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมไม้ดอกและไม้ประดับ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แมลงดีมีประโยชน์ในนาข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แมลงดำหนามข้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสิงห์บุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100064274456478

แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564 แผ่นพับที่ 12/2566 แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564

ลำต้นเน่าในปาล์มน้ำมัน จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โรคไหม้ข้าวระยะกล้า จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

รากเน่าโคนเน่าในทุเรียน จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969