ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ชวนอ่านเรื่องราวของ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) กำลังสำคัญที่อยู่เคียงข้างนักส่งเสริมการเกษตรตลอดมา อกม. คือใคร? อกม. ทำอะไรบ้าง? เป็น อกม. แล้วได้อะไร? วันนี้มาหาคำตอบพร้อม ๆ กันในโพสต์นี้เลยค่ะ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.)คลิกอ่าน : https://bit.ly/3Up0TCF คู่มืออาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.)คลิกอ่าน : https://bit.ly/3MnV05R

ชวนทุกคนมาฟังเรื่องราวของโครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง “1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูง” ตั้งแต่ที่มาของโครงการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย แนวทางการขับเคลื่อน รวมถึงบทบาทของกรมส่งเสริมการเกษตรต่อโครงการนี้ ใน 3 เอกสารแนะนำดังนี้ 1 ท้องถิ่น 1 สินค้าเกษตรมูลค่าสูงคลิกอ่าน : https://bit.ly/3Z2VXIe โครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง “1 ท้องถิ่น 1

ติดต่อ

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร 2143/1 ถนน พหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 หมายเลขโทรศัพท์/โทรสาร 0 2579 5517 e Mail : agritech.esc.doae@gmail.com

รับสมัครเกษตรกรที่ปลูกกาแฟ และสนใจปลูกกาแฟเข้าร่วมอบรม “หลักสูตรเกษตรกรรมเชิงฟื้นฟูสำหรับการผลิตกาแฟ” – เพื่อส่งเสริมและพัฒนากาแฟโรบัสต้าอำเภอพนม กำหนดอบรมในวันที่ 10-11 กันยายน 2567!! ลงทะเบียน คลิก https://forms.gle/QtQYDfhmBhoFXqNn8 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอพนม อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

แผ่นพับที่ 1/2567 จักจั่นในอ้อยและการป้องกันกำจัด จักจั่นอ้อย พบการระบาดส่วนมากในพื้นที่ปลูกอ้อยไร่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สระบุรี และลพบุรี แม้ระบาดในพื้นที่จำกัด แต่สามารถสร้างความเสียหายกับต้นอ้อยและผลผลิตอย่างสิ้นเชิง เรียบเรียง : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แผ่นพับที่ 9/2567 สาคูและการผลิตแป้งสาคู ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร จังหวัดตรัง สาคู เป็นพืชตระกูลปาล์ม ที่พบอยู่ในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และแถบอินโดนีเซีย ซึ่งในประเทศไทยพบต้นสาคูได้ในภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดชุมพรถึงจังหวัดนราธิวาสและในบางพื้นที่ของจังหวัดในภาคตะวันออก สาคูมีความสำคัญอย่างมากในระบบนิเวศ พื้นที่ของป่าสาคูเป็นแหล่งซับน้ำที่ชาวบ้านจะได้มีน้ำใช้ในภาคเกษตรและด้านอื่น ๆ ช่วยชะลอการไหลบ่า และยังเป็นแหล่งบ่มสร้างความหลากหลายทางชีวภาพให้แก่ระบบนิเวศ เรียบเรียง : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

ขอเชิญชวนเข้าร่วมการฝึกอบรมโครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ ลงทะเบียนก่อน มีสิทธิก่อน อบรมฟรี รับเพียง 60 ท่านเท่านั้น !! ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร ขอเชิญชวนเจ้าหน้าที่กรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรกร และประชาชน เข้าร่วมการฝึกอบรม “โครงการรณรงค์ส่งเสริมการปลูกผักสวนครัวในภาชนะ” เพื่อเรียนรู้ทักษะด้านการเกษตร ร่วมสาธิตการฝึกปฏิบัติและให้ความรู้ โดยวิทยากรจากกองขยายพันธุ์พืช กรมส่งเสริมการเกษตร โดยการอบรม จะแบ่งเป็น 2 รอบ

โรคใบจุดสาหร่ายปาล์มน้ำมัน เชื้อสาเหตุ Phycopeltis sp. ลักษณะอาการเป็นจุดเล็ก ๆ หรือเป็นแผ่นขนาดใหญ่ (ลุกลาม) บนใบ โดยจุดดังกล่าวจะขยายใหญ่ขึ้น โดยเฉพาะในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง เป็นระยะเวลานานติดต่อกัน การระบาดระบาดมากในช่วงฤดูฝน เนื่องจากสปอร์สาหร่าย สามารถแพร่กระจายได้ทางลมและฝน การป้องกันกำจัด การใช้สารเคมี เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารัขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

7 แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดปลาหมอคางดำ 2567-2570 1. ควบคุมและกำจัดปลาหมอคางดำในแหล่งน้ำทุกแห่งที่พบการแพร่ระบาด โดยการจับออกจากแหล่งน้ำธรรมชาติด้วยเครื่องมือประมงที่มีประสิทธิภาพและกำจัดจากบ่อเพาะเลี้ยงด้วยกากชา 2. กำจัดปลาหมอคางดำในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยการปล่อยปลาผู้ล่าอย่างต่อเนื่อง และปล่อยปลาผู้ล่าตามความเหมาะสมของแหล่งน้ำไม่น้อยกว่า 5 ล้านตัว ในพื้นที่เป้าหมาย 16 จังหวัด มุ่งเน้นการจัดหาพันธุ์ปลาผู้ล่าที่มีความเหมาะสมกับบริบทพื้นที่ 3. การนำปลาหมอคางดำ ที่กำจัดออกจากระบบนิเวศไปใช้ประโยชน์ เช่น การแปรรูป (น้ำหมัก)

คลังความรู้กรมส่งเสริมการเกษตร

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

องค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

ไรแดงมันสำปะหลัง ลักษณะการทำลาย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี

หนอนหัวดำ วงจรชีวิต ไข่ – วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่มีสีเหลืองอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หนอน

เฝ้าระวังจักจั่นอ้อย ในเขตพื้นที่อ้อยชลประทาน เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท

เฝ้าระวังด้วงแรดมะพร้าว ลักษณะการเข้าทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท

เพลี้ยอ่อนในพริก ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและยอดการทำลายของเพลี้ยอ่อนในพริก จะทำให้ใบบิดเป็นคลื่น ทำให้ต้นพริกชะงักการเจริญเติบโต และยังเป็น “พาหะนำเชื้อไวรัส ทำให้เกิดโรคใบด่างในพริก” มักระบาดในช่วงอากาศแห้งแล้ง