ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

ขอบใบแห้งในนาข้าว

โรคขอบใบแห้งในนาข้าว สาเหตุ – เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas oryzae pv. oryzae (ex Ishiyama) Swings et al. การแพร่ระบาด – สามารถแพร่ไปกับน้ํา ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูงและมีลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวาง อาการ – เป็นโรคได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ

เตรียมรับมือสู้ภัยแล้ง จัดการน้ำให้พืชอยู่รอด วันนี้ DOAE ชวนเรียนรู้วิธีจัดการน้ำสำหรับพืชในช่วงหน้าแล้ง พืชอะไรควรปลูก รดน้ำอย่างไร ใช้ระบบอะไรดี มาเตรียมรับมือก่อนเกิดภัยแล้งไปด้วยกันค่ะ

การเผา ผิดกฏหมาย !! และก่อให้เกิดปัญหามากมาย เช่น ฝุ่นละออง PM 2.5 หมอกควัน ก๊าซพิษ เป็นอันตราย ทำลายสุขภาพ ส่งผลกระทบถึงการท่องเที่ยว ทำลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน รวมถึงก่อให้เกิดสภาวะโลกร้อน น้ำท่วม ฝนแล้ง ได้อีกด้วย ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

กรมส่งเสริมการเกษตร ขอเชิญชวนสมาชิกวิสาหกิจชุมชน เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน และประชาชนทั่วไป ร่วมแสดงความเห็นและให้ข้อเสนอแนะต่อ “ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ว่าด้วยการโอนอสังหาริมทรัพย์ให้แก่วิสาหกิจชุมชนนิติบุคคล” ตั้งแต่บัดนี้ – 30 พฤศจิกายน 2566

การผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำ โดยวัสดุจากพืชผักและผลไม้ ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ คืออะไร? คือ ปุ๋ยที่ได้จากการนําวัสดุจากธรรมชาติ มาผ่านกระบวนการหมักในรูปของเหลวโดยใช้จุลินทรีย์เป็นตัวย่อยสลาย ทําให้ได้ฮอร์โมนหรือสารเสริมการเจริญเติบโตของพืช เช่น ออกซิเจน จิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน รวมทั้งกรดอินทรีย์ หลายชนิด เช่น กรดแลคติก กรดอะซิติก กรดอะมิโน และกรดฮิวมิก ประโยชน์ของปุ๋ยอินทรีย์น้ํา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

Yogurt Powder รายละเอียดสินค้า “White Tiger” แบรนด์ที่นำถั่วลายเสือมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปนมสดพร้อมดื่ม นมอัดเม็ดและโยเกิร์ตพาวเดอร์ (yogurt powder) สร้างทางเลือกให้ผู้บริโภคที่ต้องการเสริมสร้างโปรตีน ตอบโจทย์อาหาร Plant-Based พร้อมกับแตกไลน์ผลิตของใช้ อาทิ น้ำมันถั่วลายเสือ หรือแม้กระทั่งผลิตภาชนะจาน ชามจากเปลือกถั่ว สร้างมูลค่าเพิ่มแทนการทำลาย โยเกิร์ตพาวเดอร์ (yogurt powder) หรือโยเกิร์ตผง

การไถกลบทดแทนการเผา ทางเลือกจัดการเศษวัสดุทางการเกษตร การไถกลบเศษวัสดุการเกษตรลงไปในดิน นอกจากจะช่วยลดปัญหาการเผาแล้ว ยังเกิดประโยชน์ต่อการผลิตพืชอีกหลายประการ ได้แก่ การไถกลบควรทำควบคู่ไปกับการใช้ “น้ำหนักชีวภาพ” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการย่อยสลายเศษวัสดุการเกษตรให้เป็นปุ๋ยที่พืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้เร็วขึ้น ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรจังหวัดตาก

วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566 กองส่งเสริมอารักขาพืชและจัดการพืชปุ๋ย ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 750 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดนิทรรศการวันดินโลก ในวันที่ 5 ธันวาคม 2566

วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 สำนักงานเกษตรอำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 580 เล่ม/แผ่น สำหรับให้บริการข้อมูลข่าวสารด้านการเกษตรแก่เกษตรกรในพื้นที่ นำไปปฏิบัติเพื่อสร้างอาชีพและเพิ่มรายได้ให้แก่ตนเองได้

โรคใบติดหรือใบไหม้ทุเรียน เกิดจาก เชื้อรา Rhizoctonia solani อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผล คล้ายถูกนํ้าร้อนลวก ต่อมาแผลจะ ขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล มีขนาด และรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อใบที่เป็นโรคร่วงหล่นบริเวณโคนต้นจะกลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อรา และกระจายแพร่เชื้อต่อไป มักระบาดในช่วงฤดูฝน ที่มีความชื้นสูง รวมถึงต้นทุเรียนที่มีทรงพุ่มหนา ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

"เกษตรมาแล้ว"

คลิปวิดีโอสั้น เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผ่านช่องทาง Tiktok "เกษตรมาแล้ว"

เข้าชม เกษตรมาแล้ว

ด้วยกลิ่นและรสชาติเผ็ดร้อนของ “ขิง” อาจไม่ถูกปากใครหลายคน ลองมาทำเมนู “ขิงหิมะ” ไว้เป็นของว่างทานเล่น สามารถทำเองที่บ้านได้ง่ายๆ อยากรู้ว่ารสชาติเป็นอย่างไรมาลงมือทำกันครับ