ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการ
10

เรื่องล่าสุด

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษากล้วยในช่วงฤดูฝน แนวทางดูแลรักษากล้วยในช่วงฤดูฝน โรคกล้วยที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน : โรคตายพรายในกล้วย สาเหตุ : เกิดจากเเชื้อรา Fusarium oxysporum f. sp. cubense ลักษณะอาการ : ใบกล้วยที่อยู่รอบนอกหรือใบแก่ แสดงอาการเหี่ยวเหลืองจากขอบและลุกลามเข้ากลางใบ ก้านใบหักพับตรงรอยต่อกับลำต้น และจะทยอยหักพับตั้งแต่ใบที่อยู่รอบนอกเข้าไปสู่ใบด้านใน แนวทางป้องกัน :

พิลังกาสา

พิลังกาสา ของดีเมืองสมุทรปราการและเครื่องดื่มพิลังกาสา สำนักงานเกษตรจังหวัดสมุทรปราการ ขอแนะนำหนึ่งในของดีจังหวัดสมุทรปราการ “พิลังกาสา” พร้อมทั้งประโยชน์ และสรรพคุณทางยาของพิลังกาสา พิลังกาสา มีถิ่นกำเนิดในเอเชียใต้ พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดเป็นต้นไม้ขนาดย่อม ความสูงประมาณ 2-3 เมตร ลำต้นแตกกิ่งสาขาออกรอบต้น ขยายพันธุ์ด้วยพิธีเพาะเมล็ด ชอบดินทรายหรือดินเหนียว ประโยชน์ของพิลังกาสามีสารแอนโทไซยานิน (Anthocyanin) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันเส้นเลือดอุดตัน เหมาะที่จะนำมาผลิตเป็น

เกษตรสมุทรปราการแนะนำ แนวทางดูแลรักษามะม่วงในช่วงฤดูฝน แนวทางดูแลรักษามะม่วงในช่วงฤดูฝน โรคมะม่วงที่พบบ่อยในช่วงฤดูฝน : โรคแอนแทรคโนสในมะม่วงสาเหตุ : เกิดจากเเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. ลักษณะอาการ : ใบอ่อนมีอาการเป็นจุดฉ่ำน้ำ และจะเปลี่ยนเป็นสีดำ บริเวณที่เป็นแผลจะหดตัวเล็กลงทำให้ใบบิดเบี้ยว แนวทางป้องกัน : ป้องกันด้วยการใช้สารชีวภัณฑ์ฉีดพ่นเพื่อควบคุมโรค อาทิเช่น เชื้อราไตรโคเดอร์มา หรือเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัส

ปัจจัยความก้าวหน้า กลุ่มมะพร้าวแปลงใหญ่ จังหวัดสมุทรสงคราม ด้วยการบริหารจัดการทำมะพร้าวน้ำหอมท้องถิ่น โดยการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ เพิ่มผลผลิตอย่างมีประสิทธิผล ทั้งยังการันตีคุณภาพโดย GAP และองค์กรระหว่างประเทศเช่นเยอรมัน จนผลิตภัณฑ์มะพร้าวหอมฉุยปลอดภัย ได้คุณภาพ อีกทั้งยังเป็นส่วนหนึ่งในโครงการสินค้าเกษตรและบริการมูลค่าสูง 1 ท้องถิ่น 1 สินค้ามูลค่าสูงอีกด้วย

ด้วงกัดใบบุกไร่มันสำปะหลัง! เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังทุกพื้นที่ ดำเนินการ ดังนี้ 1.ให้เกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังสำรวจแปลงปลูกของตน 2.สังเกตลักษณะการทำลายของด้วงกัดใบคือ ใบเว้า ๆ แหว่ง ๆ มีมูลด้วงบริเวณยอดของต้นมันสำปะหลัง และตัวด้วงมักอาศัยอยู่เป็นคู่ๆ หรือรวมกันเป็นกลุ่มบนลำต้น 3.ป้องกันกำจัดด้วยวิธีเขตกรรม คือ เก็บด้วงไปทำลาย 4. พ่นสารฆ่าแมลง คาร์บาริล 85% ดับเบิ้ลยูพี (สารกลุ่ม1a)

ปลูกผักฉบับมือใหม่ปลูกง่ายใช้พื้นที่น้อย เพาะผักงอก 7 วันกินได้วัสดุอุปกรณ์ วิธีทำ ปลูกผักไฮโดรโปนิกส์ไม่ง้อดินวัสดุอุปกรณ์ วิธีทำ

ชวนอ่านเรื่องราวของ “มันสำปะหลัง” และ “ศัตรูของมันสำปะหลัง” เนื่องจากช่วงนี้มีการระบาดในหลายพื้นที่ เกษตรกรจึงจำเป็นต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ 1.คำแนะนำการป้องกันกำจัด หนอนกระทู้…ในมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/4ccGaL22.การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/44kBVbU3.ศัตรูมันสำปะหลังและการจัดการคลิกอ่าน : https://bit.ly/3uG8XqJ4.ศัตรูธรรมชาติในแปลงมันสำปะหลังคลิกอ่าน : https://bit.ly/3J70pMW

พันธุ์มันสำปะหลัง ทนทานต่อโรคใบด่างมันสำปะหลัง ระยอง 72 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ใบยอดอ่อนสีม่วง ไม่มีขน ก้านใบแดงเข้ม แผ่นใบเป็นใบหอกลักษณะเด่น : เจริญเติบโตเร็วในช่วงแรก ผลผลิตหัวสดสูง ต้นพันธุ์ยาวแข็งแรง สภาพดินที่เหมาะสม : ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง เช่น ดินร่วนปนทราย ดินร่วนปนเหนียว ดินเหนียวสีดำและแดง ความต้านทานต่อศัตรูพืช

แมกนีเซียม (Mg) เป็นองค์ประกอบของส่วนที่เป็นสีเขียวของพืช (คลอโรฟิลล์) ซึ่งทำหน้าที่ในการสังเคราะห์แสง ส่งเสริมการดูดกินและนำพาฟอสฟอรัสขึ้นสู่ลำต้น ช่วยสังเคราะห์กรดอะมิโน วิตามิน ไขมัน มีส่วนช่วยในการสร้างน้ำมันเมื่ออยู่ร่วมกับกำมะถัน นอกจากนี้ยังทำหน้าที่หลายอย่างซึ่งมีความสำคัญต่อการหายใจของเซลล์พืช เมื่อพืชขาดแมกนีเชียม ใบแก่ (ใบล่าง) เปลี่ยนเป็นสีเหลือง แต่เส้นใบสีเขียวชัดเจนบนใบสีเหลืองคล้าย “ก้างปลา” อาการนี้เรียกว่า “ใบเหลืองระหว่างเส้นใบ” หรือ “คลอโรซีส” (chlorosis)

โรคถอดฝักดาบ

โรคถอดฝักดาบ สาเหตุ เกิดจากเชื้อราอาศัยอยู่ในฟางข้าว เมล็ดพันธุ์ หรือวัชพืชรอบ ๆ แปลง สภาพที่เหมาะสมต่อการระบาด◾สภาพอากาศร้อนชื้น (แดดจัดในตอนเช้า ตอนเย็นฝนตก ฟ้าครึ้ม อากาศอบอ้าว) อุณหภูมิ 27-28 องศาเซลเซียส เชื้อราจะงอกจากสปอร์◾ปลูกต้นข้าวขึ้นหนาแน่น อากาศไม่ถ่ายเท อาการและการระบาด◾มักพบในข้าวอายุเกิน 15 วัน และระยะเริ่มแตกกอ◾ข้าวเป็นโรคจะต้นผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าวโดยทั่ว ๆ

แนะนำนิตยสารน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

คู่มือการพิจารณาพื้นที่ที่ขอรับรองมาตรฐานระบบการผลิต GAP Organic ปี 2566 ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

คู่มือตลาดเกษตรกรออนไลน์ (สำหรับเกษตรกร) ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

แหนแดง แผ่นพับเรื่องแหนแดง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. สำหรับพิมพ์ เรียบเรียงโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช

แนะนำหนังสือน่าอ่านเดือนกรกฎาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

เชื้อราไตรโคเดอร์มา แผ่นพับที่ 14/2566 เชื้อราไตรโคเดอร์มา เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

แมลงศัตรูข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

โรคข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แผ่นพับที่ 12/2566 แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564 เรียบเรียง : กลุ่มคุณภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร

การวินิจฉัยอาการด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัสและการขาดธาตุอาหาร แผ่นพับที่ 16/2566 การวินิจฉัยอาการด่างที่เกิดจากเชื้อไวรัสและการขาดธาตุอาหาร เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการวินิจฉัยศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ไส้เดือนฝอยกำจัดแมลงศัตรูพืช ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391&locale=th_TH

การควบคุมศัตรูทุเรียน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา ,

ขอพระองค์ทรงพระเจริญ 4 กรกฎาคม วันคล้ายวันประสูติ สมเด็จพระเจ้าน้องนางเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี กรมพระศรีสวางควัฒน

มาทำเชื้อราบิวเวอเรียมากันเถอะ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100043336281224

มาทำเชื้อราไตรโคเดอร์มากันเถอะ จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสุพรรณบุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100043336281224

เอกสารคำแนะนำที่ 4/2566 การปรับปรุงบำรุงดินในภาวะปุ๋ยแพง เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการดินปุ๋ย กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์

เอกสารคำแนะนำที่ 3/2566 การปลูกเลี้ยงกล้วยไม้แบบมืออาชีพ เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมไม้ดอกและไม้ประดับ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แมลงดีมีประโยชน์ในนาข้าว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

แมลงดำหนามข้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสิงห์บุรี https://www.facebook.com/profile.php?id=100064274456478

แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564 แผ่นพับที่ 12/2566 แนวทางการผลิตเกษตรอินทรีย์ ตาม มกษ.9000-2564

ลำต้นเน่าในปาล์มน้ำมัน จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โรคไหม้ข้าวระยะกล้า จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

รากเน่าโคนเน่าในทุเรียน จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

โคนเน่าหัวเน่ามันสำปะหลัง จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

แมลงหวี่ขาวยาสูบมะเขือเปราะ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

รับมือโรคพืชในช่วงฤดูฝน จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา https://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391

ผึ้งโพรง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร https://www.facebook.com/aopdb03/ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF

การเลี้ยงจิ้งหรีดแบบพัฒนา จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดชุมพร https://www.facebook.com/aopdb03/ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF

กรมส่งเสริมการเกษตร ขอเชิญชวนยุวเกษตรกรเข้าร่วมกิจกรรมประกวดและเเข่งขัน งานชุมนุมยุวเกษตรกรและที่ปรึกษากลุ่มยุวเกษตรกรระดับประเทศ ประจำปี 2566 ภายใต้แนวคิดการจัดงาน “70 ปี

การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่มาตรฐานฟาร์มผึ้งชันโรง (GAP) แผ่นพับที่ 13/2566 การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่มาตรฐานฟาร์มผึ้งชันโรง (GAP) เรียบเรียง :

โรคใบจุดสีดำถั่วลิสง จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

ไซยาไนด์ วัตถุอันตราย มีพิษร้ายแรง ข่าวสารวิชาการ กอป. ปีที่ 7 ฉบับที่

ฤดูกาลผลไม้ภาคใต้ เริ่มแล้วนะคะ ทั้งทุเรียน มังคุด เงาะ จำปาดะ และอื่นๆ อีกมากมาย

สารเคมีที่แนะนำในการกำจัดไรศัตรูพืช เรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร

แมลงศัตรูมะม่วง จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

สารเคมีกำจัดแมลง “ยาน็อค” จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207 ยาน็อค คือ

ปฏิทินฤดูกาลสินค้าเกษตร ปี 2566 ที่มา : กรมการค้าภายใน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF.

หลักสูตรอบรมฟรีเดือนมิถุนายน สมัครเข้าร่วมอบรมฝึกอาชีพมีดีที่ศูนย์ปฏิบัติการฯ สำหรับเดือนมิถุนายนนี้ มีการจัดอบรมใน 2 จังหวัด จะมีหลักสูตรใดหน้าสนใจบ้าง มาดูกันเลยค่า จังหวัดฉะเชิงเทรา  หลักสูตรการทำน้ำมันไพล

หนอนเจาะขั้วผลลิ้นจี่ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จ.นครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

แมลงนูนหลวง..ศัตรูไร่อ้อย มันสำปะหลัง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรอำเภอสีคิ้ว จ.นครราชสีมา https://www.facebook.com/Sikhio.doae2563

โรคใบไหม้ และผลเน่า หรือโรคราน้ำฝน (เชื้อรา phytophthora capsici) ในลำไย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

ไม้ขุดล้อม แผ่นพับที่ 9/2566 ไม้ขุดล้อมเรียบเรียง : กลุ่มส่งเสริมไม้ดอกและไม้ประดับ สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร ดาวน์โหลดไฟล์

แผ่นพับที่ 8/2566 การจัดการดินและปุ๋ยในพืชผัก การผลิตผักให้ได้คุณภาพและมีผลผลิตสูงนั้น มีปัจจัยที่สำคัญ ได้แก่ สถานที่ปลูก การเตรียมดิน

วันพืชมงคล ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เป็นพระราชพิธี ๒ พิธีรวมกัน

ชันโรง(ผึ้งจิ๋ว) นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกร ชันโรง นักผสมเกสรชั้นยอด ตัวช่วยสำคัญของเกษตรกรในการเพิ่มผลผลิต โดยเฉพาะไม้ผล ทำให้ได้ผลผลิตสูงขึ้นทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ