ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

น้ำหมักย่อยสลายฟางข้าว ปลอดการเผาในพื้นที่เกษตรกรรม (เกษตรกรไทยยุคใหม่ ใส่ใจสิ่งแวดล้อม) วัตถุดิบ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดกำแพงเพชร ร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอลานกระบือ

ไขความลับแห้ว ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเกษตร แห้วที่ปลูกในปัจจุบันคือ “แห้วพันธุ์จีน” มีลำต้นคล้ายต้นหอมหรือใบกก ลักษณะการปลูกคล้ายการปลูกข้าว แห้วจีนเป็นพืชที่มีถิ่นกำเนิดในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยคาดการณ์ว่าอยู่ในสาธารณรัฐประชาชนจีน และมีการนำไปปลูกยังเขตร้อนต่าง ๆ หลายประเทศ สารบัญ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มภูมิปัญญาท้องถิ่นและนวัตกรรมด้านการเกษตร กองวิจัยและะพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร

ศัตรูลำไย ลิ้นจี่ หนอนเจาะขั้วผล หนอนจะเข้าทำลายผล 2 ระยะ คือ ระยะ แรกเริ่มติดผลประมาณ 1.5-2 เดือน จะเจาะเข้าไปกัดกินภายในเมล็ด มองดูภายนอกจะไม่เห็นรอยทำลาย เมื่อผ่าดูจะเห็นรอยทำลายทำให้ผลไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้ และร่วงหล่นหมด ระยะที่สองเมื่อขนาดผลโต หนอนจะเจาะกินบริเวณขั้วผลจะพบรูเล็ก ๆ ปรากฎอยู่ซึ่งเป็นรูที่หนอนเจาะออกมาเข้าดักแด้อยู่ภายนอก มวนลำไย ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอดอ่อน

หนอนหัวดำ วงจรชีวิต ไข่ – วางไข่เป็นกลุ่ม ไข่มีสีเหลืองอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หนอน – เมื่อฟักออกจากไข่จะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม ก่อนที่จะย้ายไปกินใบมะพร้าว ตัวมีสีน้ำตาลอ่อนและมีลายสีน้ำตาลเข้มพาดยาวตามลำตัว ดักแด้ – อยู่ภายในอุโมงค์ มีสีน้ำตาลอ่อน เมื่อใกล้ฟักจึงเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม ผีเสื้อกลางคืน – เวลากลางวันจะเกาะนิ่งหลบอยู่ใต้ใบมะพร้าว วางไข่ได้ 49-490

ศัตรูพืชที่ติดไปกับท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง โรคใบด่างมันสำปะหลัง โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

แมลงศัตรูมะพร้าว ด้วงแรดมะพร้าว หนอนหัวดำมะพร้าว แมลงดำหนามมะพร้าว ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการจัดการสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

ขอเชิญพี่น้องชาวกรมส่งเสริมการเกษตร เข้าร่วมสนุกกับกิจกรรม “DOAE ผ้าไทยใครใส่ก็ดูดี ปี 2 ” ในช่วงเทศกาลวันสงกรานต์ 2567 โพสต์ภาพสวมใส่ผ้าไทยพร้อมอุปกรณ์เล่นน้ำสงกรานต์ ชิงรางวัลพิเศษ กติการ่วมสนุก 1. ส่งภาพการแต่งกายผ้าไทยหรือผ้าพื้นเมืองพร้อมอุปกรณ์เล่นน้ำสงกรานต์ของท่าน มายังไดรฟ์ >> https://forms.gle/F3pUStrfPdy44LZp8 โดยภาพที่โพสต์ ท่านสามารถครีเอทท่าทาง ตกแต่งภาพได้ไม่จำกัดไอเดีย ไม่จำกัดจำนวนคนในภาพ ใส่แคปชั่นเก๋ ๆ

น้าเยี่ยมติดดาว แนะนำสินค้าใหม่จากเว็บไซต์ www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com  “กล้วยเบรคแตก”วิสาหกิจชุมชนขนมบ้านบ้าน ต.ท้ายดง อ.วังโป่ง จ.เพชรบูรณ์โทร. 0852269951 คลิก https://www.xn--12ca9cdcza1fboh6b4ca0evmxcuh.com/p/3783/%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B8%81.html

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ค้นหาข้อมูล

กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล

เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป

ข่าวประชาสัมพันธ์

ศูนย์ข้อมูลองค์ความรู้ด้านการเกษตร

คลังหนังสือออนไลน์

รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.

คลังหนังสือออนไลน์

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร

ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้

เข้าสู่ระบบห้องสมุด

เรื่องนี้มีคำตอบ

รวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้

เรื่องนี้มีคำตอบ

Flipbook

แหล่งรวมหนังสือ e-Book และแผ่นพับ ในรูปแบบ Flipbook

เข้าชม Flipbook

แมลงหางหนีบ แมลงหางหนีบ : เป็นแมลงตัวห้ำที่มีศักยภาพในการนำไปใช้ควบคุมแมลงศัตรูพืช ชอบอยู่ในที่ที่มีความชื้น และหลบซ่อนตัวอยู่ตามซอกกาบใบหรือตามพื้นดินที่มีเศษใบไม้และสามารถหาเหยื่อตามซอกมุมได้ดี ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชได้หลายชนิด จัดทำโดย

เพลี้ยไฟ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

คำแนะนำและป้องกันกำจัดโรคเหี่ยวในกล้วย จัดทำโดย : กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ สำนักงานเกษตรจังหวัดยะลา

โรคกิ่งแห้งทุเรียน จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลา https://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391

Share this:

Like this:

Like Loading...