คำแนะนำ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผักผลไม้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร
คำแนะนำ อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเก็บรักษาผักผลไม้ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 6 จังหวัดเชียงใหม่
รู้จักแมลงดีควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าว มารู้จักกับแมลงศัตรูธรรมชาติ หรือ แมลงดีที่สามารถควบคุมหนอนหัวดำมะพร้าวไดด้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจากเข้าสู่ฤดูร้อนและสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้เกิดการระบาดของหนอนหัวดำมะพร้าวในหลายพื้นที่ โดยเฉพาะจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ที่พบพื้นที่การระบาดมาก ดังนั้น มาทำความรู้จักและอนุรักษ์แมลงดีในสวนมะพร้าวกัน ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มส่งเสริมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย
เฝ้าระวังจักจั่นอ้อย ในเขตพื้นที่อ้อยชลประทาน เตือนเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยในเขตชลประทาน โดยเฉพาะพื้นที่ ในจังหวัดสุพรรณบุรี อ่างทอง สิงห์บุรี ชัยนาท กาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี สระบุรี และจังหวัดลพบุรี สำรวจแปลงอ้อยช่วงระยะงอกจนถึงระยะย่างปล้อง หรือตั้งแต่เดือนเมษายน-สิงหาคม เป็นช่วงที่ตัวเต็มวัยออกผสมพันธุ์และวางไข่ โดยจักจั่นเพศผู้ใช้อวัยวะทำเสียงเรียกหาคู่ ดาวน์โหลดไฟล์ PDF. เรียบเรียงโดย : กลุ่มจัดการศัตรูพืชหลังการเก็บเกี่ยว
การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “เหล็ก-Fe” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดธาตุเหล็ก การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุเหล็ก เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “แมงกานีส-Mn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดแมงกานีสและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุแมงกานีส เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “สังกะสี-Zn” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดสังกะสีและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุสังกะสี เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
การจัดการธาตุอาหารในแปลงข้าวเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต “โบรอน-B” ความสำคัญ อาการต้นข้าวขาดโบรอนและผลกระทบ การจัดการเพื่อไม่ให้ขาดธาตุโบรอน เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตร
แจ้งเตือนภัยการเกษตร วันที่ 20 มีนาคม – 2 เมษายน 2567 กะเพรา โหระพา แมงลัก ข้าวโพดหวาน/ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ มะเขือเปราะ พืชผักตระกูล กะหล่ำ และผักกาด (เช่น คะน้า กะหล่ำปลี กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักกาดหอม)
เฝ้าระวังด้วงแรดมะพร้าว ลักษณะการเข้าทำลาย การป้องกันกำจัด เรียบเรียงโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
สมาคมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรขอเชิญชวนผู้นำกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเข้าอบรมหลักสูตรการใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อการพัฒนาสตรีและการสร้างรายได้
ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตรมีความเป็นเลิศทางด้านการเป็นคลังความรู้และการให้บริการสารสนเทศด้านการเกษตรและอื่นๆ ที่ทันสมัย สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กรอกข้อมูลที่ต้องการค้นหา ที่ช่องค้นหาข้อมูล
เลื่อนไปทางซ้าย – ขวา เพื่ออ่านเรื่องถัดไป
แนะนำหนังสือใหม่เดือนตุลาคม 2566
เห็ดนางฟ้า เพาะง่าย ๆ ได้ที่หลังบ้าน
การบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (ไอพีเอ็ม)
แนะนำหนังสือใหม่เดือนตุลาคม 2566
เห็ดนางฟ้า เพาะง่าย ๆ ได้ที่หลังบ้าน
การบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (ไอพีเอ็ม)
รวบรวมและจัดเก็บองค์ความรู้และข้อมูลด้านการเกษตร ให้บริการในรูปแบบหนังสือ e-Book และไฟล์ PDF.
คลังหนังสือออนไลน์ห้องสมุด (e-Library) สามารถสืบค้น/ยืม หนังสือ นิตยสาร และวารสารของกรมส่งเสริมการเกษตรและหน่วยงานภายนอกได้
เข้าสู่ระบบห้องสมุดรวมประเด็นคำถามสำคัญ งานตามภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตร ที่เกษตรกรควรรู้
เรื่องนี้มีคำตอบDOAE เมนูเด็ดเกษตรสร้างสรรค์ตำรับอาหารเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรแปรรูป
Facebook Live ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก (ศทอ.พิษณุโลก) https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207
Facebook Live กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย (กอป.) https://www.facebook.com/AgricultureExtension50 “การป้องกันและกำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด”
Facebook Live ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่ https://www.facebook.com/bee.centercm
เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนมิถุนายน 2565 จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนระวังการระบาดของหนอนเจาะเมล็ดทุเรียน เนื่องทุเรียนอยู่ในระยะของการพัฒนาผล โดยหนอนจะเจาะเข้าไปในผลทุเรียนกัดกินเมล็ดเป็นอาหาร ถ่ายมูลออกมาปะปนอยู่กับเนื้อทุเรียน จนกระทั่งเมื่อหนอนโตเต็มที่พร้อมเข้าดักแด้ จะเจาะเปลือกเป็นรูออกมาและทิ้งตัวลงบนพื้นดินเพื่อเข้าดักแด้ในดิน จึงเรียกหนอนชนิดนี้อีกชื่อว่า “หนอนรู”