ศูนย์วิทยบริการเพื่อส่งเสริมการเกษตร

10

เรื่องล่าสุด

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มะพร้าว) 1.หนอนหัวดำมะพร้าวสุ่มนับทางใบที่เขียวสมบูรณ์ แยกระดับความรุนแรงน้อย = ใบเขียวสมบูรณ์ 13 ทางใบขึ้นไปปานกลาง = ใบเขียวสมบูรณ์ 6-13 ทางใบรุนแรง = ใบเขียวสมบูรณ์ น้อยกว่า 6 ทางใบ 2.แมลงดำหนามมะพร้าวสุ่มนับใบยอดที่ถูกทำลาย แยกตามระดับความรุนแรงน้อย = ใบยอดถูกทำลาย 1-5

เกณฑ์การประเมินพื้นที่ระบาดศัตรูพืชในพืชเศรษฐกิจสำคัญ (มันสำปะหลัง) 1.โรคใบด่างมันสำปะหลัง กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง กระจายทั่วแปลง ให้ถือว่าพื้นที่ระบาดเท่ากับพื้นที่ปลูก กรณี พบต้นมันสำปะหลัง แสดงอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง เป็นหย่อมหรือบริเวณมุมใดมุมหนึ่งของแปลงให้แบ่งขอบเขตแปลงในบริเวณที่เป็นโรค ในรัศมี 20 เมตร จากจุดที่เป็นโรค แล้วจึงคิดเป็นสัดส่วนเทียบกับพื้นที่ปลูก 2.เพลี้ยแป้งมันสำปะหลังให้สำรวจอย่างน้อย 10 จุดสำรวจ จุดละ 1

มวนยุงในฝรั่ง

มวนยุงในฝรั่ง เชื้อสาเหตุ : Helopeltis theivora มวนยุง หรือ มวนยุงชา หรือ มวนโกโก้ อยู่ในวงศ์ Miridae อันดับ Hemiptera เป็นแมลงศัตรู สำคัญของพืชหลายชนิด เช่น ชา โกโก้ อะโวกาโด้ มะม่วงหิมพานต์ เป็นแมลงชนิดปากดูด

โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน เชื้อสาเหตุ : Phytophthora palmivora ลักษณะการทำลาย อาการที่กิ่งและที่ลำต้นหรือโคนต้นระยะแรกจะแสดงอาการใบเหลืองเป็นบางกิ่ง สังเกตเห็นคล้ายคราบน้ำบนผิวเปลือกของกิ่งหรือต้น ในช่วงเช้าที่มีอากาศชื้นอาจเห็นเป็นหยดของเหลวสีน้ำตาลแดงออกมาจากบริเวณแผล และจะค่อย ๆ แห้งไปในช่วงที่มีแดดจัด ทำให้เห็นเป็นคราบ เมื่อใช้มีดถากบริเวณคราบนั้น จะพบเนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล ถ้าแผลขยายใหญ่ลุกลามจนรอบโคนต้น จะทำให้ทุเรียนใบร่วงจนหมดต้น และยืนต้นแห้งตาย อาการที่รากเริ่มแรกจะเห็นใบที่ปลายกิ่งมีสีซีด ไม่เป็นมันเงา เหี่ยวลู่ลง เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น

หนอนชอนใบมังคุด

หนอนชอนใบมังคุด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Acrocercops sp. และ Phyllocnistis sp. ลักษณะการทำลายAcrocercops sp. ทำลายใบอ่อนที่มีอายุมาก โดยตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชกัดกินและขับถ่าย อยู่ในระหว่างผิวใบ รอยทำลายมีลักษณะแผ่กว้างเป็นแผ่นสีดำ เนื่องจากเนื้อเยื่อระหว่างผิวใบตรงส่วนนั้นถูกทำลาย Phyllocnistis sp. ทำลายใบอ่อนมังคุดที่มีอายุน้อย พบการระบาดรุนแรงมากในช่วงที่มังคุดแตกใบอ่อน ตัวหนอนที่ฟักจากไข่จะชอนไชเป็นทางยาว หรือสร้างเป็นอุโมงค์กัดกินและขับถ่ายอยู่ภายในรอยทำลายของหนอนชอนใบ ใบมังคุดที่ถูกทำลายจะแสดงลักษณะแคระแกร็นบิดเบี้ยว

ตัวอ่อนด้วงดิน

ด้วงดิน (ground beetles) อยู่ในวงศ์ Carabidae ทั้งระยะตัวหนอนและตัวเต็มวัยอาศัยอยู่ตามพื้นดิน ตัวเต็มวัยบางชนิดสามารถไต่ขึ้นบนต้นพืช เพื่อไปกัดกินศัตรูพืชได้ โดยเกือบทั้งหมดเป็นแมลงตัวห้ำทั้งระยะหนอนและตัวเต็มวัยทำลายหนอน ดักแด้ผีเสื้อศัตรูพืช ไข่แมลง มักหากินตอนกลางคืน ตัวอ่อนด้วงดินตัวนี้เจอบ่อยในแปลงข้าวโพดที่มีหนอนกระทู้ข้าวโพดนะบาด ถ้าเจออย่าตกใจ เค้าช่วยกินหนอนให้เรานะคะ ภาพจาก : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี

เป็นโรคพืชที่พบการระบาดมากในช่วงอากาศเย็น ความชื้นสูง และฝนตกชุก เนื่องจากเชื้อราสาเหตุโรคสามารถแพร่ระบาดได้ดีโดย ลม น้ำฝน เครื่องมือทางการเกษตร การเคลื่อนย้ายพืชปลูก และจะเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิค่อนข้างต่ำ ความชื้นในแปลงสูง หากเข้าทำลายพืชปลูกจะสร้างความเสียหายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต จะทำให้ผลผลิตพืชลดลง รวมถึงขนาดและคุณภาพลดลง หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น นอกจากนี้โรคราน้ำค้างยังสามารถเข้าทำลายพืชได้หลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง พืชตระกูลกะหล่ำและผักกาด และข้าวโพด เป็นต้น ส่วนข้อสังเกตของโรคราน้ำค้าง พบว่าในช่วงเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำหนังสือใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำเอกสารใหม่ เดือนพฤศจิกายน 2567 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร) สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : โทรศัพท์ 0-2579-2594 โทรสาร 0-2579-5517 สืบค้นข้อมูลเรื่องอื่น ๆ เพิ่มเติมได้ที่ : http://library.doae.go.th

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 สำนักงานเกษตรจังหวัดนครสวรรค์ ขอรับสื่อเอกสารคำแนะนำและแผ่นพับ จำนวน 865 เล่ม/แผ่น สำหรับจัดอบรมและเผยแพร่แก่เกษตรกรในพื้นที่

เตือนเฝ้าระวังศัตรูพืช ประจำเดือนพฤศจิกายน 2566 จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย  https://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

ถาม-ตอบ ภาษีวิสาหกิจชุมชน สิทธิประโยชน์ที่วิสาหกิจชุมชนจะได้รับ วิสาหกิจชุมชนที่จดทะเบียนแล้ว จะได้ยกเว้นภาษีเงินได้พึงประเมิน เฉพาะที่เป็นห้าง หุ้นส่วนสามัญหรือคณะบุคคลที่ไม่ใช่เป็นนิติบุคคล ซึ่งมีรายได้ไม่เกิน

การปลูกพืชไม่ใช่ดิน (SOILLESS CULTURE) การปลูกพืชโดยใช้วัสดุใดๆ ที่ไม่ใช่ดิน พืชจะได้รับน้ําและอาหารจากสารละลายธาตุอาหาร ที่ผู้ปลูกเป็นผู้ให้กับพืช การปลูกในน้ำ

สินค้าแนะนำทำบุญวันออกพรรษา สามารถเข้าชมสินค้าได้ที่เว็บไซต์ www.ตลาดเกษตรกรออนไลน์.com

กรมส่งเสริมการเกษตร รับสมัครและคัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วม “โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง Smart Farmer ประจำปี 2567

ตั๊กแตนกิ่งไม้ ตั๊กแตนใบไม้ คือ? สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านแมลงเศรษฐกิจ จังหวัดเชียงใหม่https://www.facebook.com/bee.centercm ที่มา

การขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอธัญบุรี https://www.facebook.com/kasetthanya/

วิธีทำกองล่อหนอนด้วงแรดมะพร้าว จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี https://www.facebook.com/PlantProtectionPathumthani

FARMER MAP BOOK สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มพัฒนานวัตกรรมดิจิทัล กรมส่งเสริมการเกษตร https://www.facebook.com/digitaldoae

โรคใบด่างฯ จะหมดไป ถ้าเราพร้อมใจกัน “ลุย” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

กำจัดให้สิ้นเสี้ยนดิน จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดสงขลาhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068931140391

เฝ้าระวัง..เพลี้ยกระโดดหลังขาวในนาข้าว จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย https://www.facebook.com/AgricultureExtension50

ศัตรูทุเรียนมะม่วงและการควบคุม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430

แมลงศัตรูปาล์มน้ำมันที่สำคัญ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานี https://www.facebook.com/PlantProtectionPathumthani

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer ปี 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :

แนะนำหนังสือใหม่เดือนตุลาคม 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)หรือที่

แจ้งเตือนภัยการเกษตร วันที่ 3-17 ตุลาคม 2566 จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช

เห็ดนางฟ้า เพาะง่าย ๆ ได้ที่หลังบ้าน สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : สำนักงานเกษตรจังหวัดปทุมธานีhttps://www.facebook.com/pathumthani.doae

การบริหารจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (ไอพีเอ็ม) จัดทำโดย : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชลบุรี สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 3

โครงการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็น Young Smart Farmer ปี 2567 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม :

โรคและแมลงในไม้เถาและการควบคุม สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม: ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชลบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100066508688430

แมลงศัตรูข้าว เพลี้ยกระโดดหลังขาว สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดเชียงใหม่ https://www.facebook.com/biochiangmai/?locale=th_TH

ระวังเพลี้ยแป้งลำไย สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

ปฏิทินการปลูกมะม่วง จัดทำโดย : กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต สำนักงานเกษตรจังหวัดสุพรรณบุรีhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100070494930854

หนอนกินใบอ่อนมังคุด จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรีhttps://www.facebook.com/chanthaburi.doae.go.th

ทำการเกษตรในเมือง เพิ่มพื้นที่สีเขียว จัดการพื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตคนเมือง” เจ้าหน้าที่และผู้มารับบริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกรมส่งเสริมการเกษตร ร่วมเรียนรู้รูปแบบการส่งเสริมการเกษตรในเมือง ในประเด็น

โรครากปมที่เกิดจากไส้เดือนฝอย จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาทhttps://www.facebook.com/DoaeChainat

5 โรคพืชหน้าฝน จัดทำโดย : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาทhttps://www.facebook.com/DoaeChainat

มันสำปะหลังพันธุ์สะอาด จัดทำโดย : กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ยhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100063968557948

โรคไหม้ข้าว จัดทำโดย : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชัยนาทhttps://www.facebook.com/DoaeChainat

5 แมลงศัตรูข้าวระยะกล้า สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดพิษณุโลก https://www.facebook.com/profile.php?id=100007822839207

ขอเชิญชวนเกษตรกรแจ้งขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรให้เป็นปัจจุบัน

3 แนวทางป้องกัน “ด้วงแรดมะพร้าว” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

แนวทางป้องกันกำจัด “ใบด่างมันสำปะหลัง” 1.เลือกท่อนพันธุ์ที่สะอาด2.หมั่นสำรวจแปลงปลูก3.ตัดเฉพาะส่วนของหัวมันสดเท่านั้น4.กำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ5.หลีกเลี่ยงการขนย้ายท่อนพันธุ์จากแหล่งที่เป็นโรคไปสู่แหล่งปลูกอื่น สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

แนวทางป้องกันกำจัด “โรคไหม้ข้าวระยะแตกกอ” สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

5 แนวทางป้องกันกำจัดโรคเมล็ดด่าง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

แนวทางป้องกันกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตรhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

ปฏิทินการเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100030145864178

ปฏิทินการปลูกพืชไร่และธัญพืช ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100030145864178

ปฏิทินการปลูกพืชผักและเห็ด ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100030145864178

ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น ที่มา : สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปางhttps://www.facebook.com/profile.php?id=100030145864178 ดาวน์โหลด PDF : https://esc.doae.go.th/wp-content/uploads/2023/09/ปฏิทินการปลูกไม้ผลไม้ยืนต้น.pdf

BCG model ภาคการเกษตร BCG คืออะไร เป็นการพัฒนา 3 เศรษฐกิจ

12 แนวทางป้องกันโรคจากเชื้อราในพริกไทยช่วงฤดูฝน 1. แปลงปลูกควรมีการระบายน้ำดี ไม่ควรมีน้ำท่วมขัง หากมีน้ำท่วมขังควรรีบระบายออก 2. ปรับสภาพดินไม่ให้เป็นกรดจัดโดยใส่ปูนขาว

น้ำหมักเปลือกมังคุด จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานีhttps://www.facebook.com/p/สำนักงานเกษตรอำเภอดอนสัก-จังหวัดสุราษฎร์ธานี-100009077983081/?locale=th_TH

หนังสือแนะนำเดือนกันยายน 2566 สามารถเข้ามารับบริการการอ่านได้ที่ ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร อาคารส่งเสริมการเกษตรเบญจสิริกิติ์ ชั้น 5 (ห้องสมุดกรมส่งเสริมการเกษตร)

แนวทางป้องกันผีเสื้อมวนหวานในลองกอง สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม : กลุ่มอารักพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดปราจีนบุรี กรมส่งเสริมการเกษตร https://www.facebook.com/profile.php?id=100068112708969

หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร จัดทำโดย : สำนักงานเกษตรอำเภอเจริญศิลป์

วิสาหกิจชุมชนผักยกแคร่ปลอดสารพิษผักยกแคร่ คลองหอยโข่ง “สด สะอาด ปลอดภัยต่อผู้บริโภค”